Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth asphyxia, -ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกนานมากกว่า 24 ชั่วโมง, :warning:S/E…
Birth asphyxia
ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิด
-
ขณะคลอด
-
-
-น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500
-
-
-
-
-
การพยาบาล
mild =Apgar score 5-7
1.ช่วยเหลืออาจกระตุ้นการหายใจด้วยการใช้นิ้วมือตีหรือดีดฝ่าเท้าทารก หรือใช้ผ้าถูหน้าอกบริเวณ Sternum หรือหลัง
-
3.ถ้ามารดาได้ยาแก้ปวดกลุ่ม Narcotic และทารกมีการหายใจถูกกด ตัวแดง ไม่ Active หายใจข้า ไม่สมํ่าเสมอ ควรให้ Noloxone (Narcan) เพื่อแก้ฤทธิ์
moderate=Apgar score3-4
1.ให้ Bag และ Mask โดยการให้ออกซิเจน 100 % และความดันที่เพียงพอที่จะทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของทรวงอกควรให้การช่วยหายใจจนกว่าทารกจะตัวแดงอย่างใกล้ชิดในตู้อบและตรวจทางห้องปฏิบ้ติการต่อไป
severe =Apgar score 0-2
1.ให้การช่วยเหลือการหายใจทันทีที่คลอดเสร็จโดยการใส่ Endotracheal tube และช่วยการหายใจด้วย Bag โดยให้ ออกซิเจน 100 % พร้อมกับการนวดหัวใจ
ถ้ายังไม่มีการเต้นของหัวใจภายใน 1 นาที หรืออัตรา การเต้นของหัวใจ < 100 ครั้งต่อนาที หลังการนวดหัวใจและให้การช่วยหายใจด้วยออกซิเจนเป็นเวลา 2 นาที ทารกควรได้รับการใส่สาย Umbilical venous catheter เพื่อให้โซเดียม ไบคาร์บอเนต สารนํ้า และยาอื่นที่จำเป็น
-
-
:warning:S/E morphine หรือ pethidine พบว่าจะกดการหายใจของทารกทำให้มีภาวะหายใจลำบากได้ภายหลังคลอด ( ชญาศักดิ์ พิศวงและปริศนา พานิชกุล นิพนธ์,2554) :!!:
:!!:การให้ออกซิเจน เนื่องจากเด็กทารกมีภาวะแทรกซ้อนจากการให้ออกซิเจนได้ง่าย การปรับให้ออกซิเจนจึงควรตรวจสอบให้แรงดันออกซิเจนในหลอดเลือดแดงอยู่ระหว่าง 50-80 มิลลิเมตรปรอท และให้ในระยะเวลาที่สั้นที่สุด :!!: