Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
อุณหภูมิของร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างความร้อนและการระบายความร้อนออกจากร่างกาย
กลไกของร่างกาย
การนําความร้อน
การพาความร้อน
การแผ่รังสี
การระเหยเป็นไอ
กลไกของการเกิดพฤติกรรม
การถอดเสื้อผ้า หรือ ส่ิงตกแต่งที่ทําให้อุ่น
การลดกิจกรรมต่าง ๆ เพิ่มพื้นที่ผิวให้สามารถระบายความร้อน
เคลื่อนย้ายไปอยู่ ในสภาพแวดล้อมที่เย็น
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมของร่างกาย
ความผันแปรในรอบวัน
ช่วงเวลาระหว่างวัน จะมีการ เปลี่ยนแปลงตลอดทั้งวัน เปลี่ยนแปลงได้มากถึง 2.0 ̊ C (3.6 ̊F)
ระหว่างช่วงเช้าและช่วงบ่าย ๆ อุณหภูมิ สูงสุดระหว่าง 20.00 และ 24.00 น.
ต่ำสุดช่วงท่ีนอนหลับ 04.00-06.00 น.
อายุ
อุณหภูมิร่างกายของเด็กทารกแรกเกิดจะไม่คงท่ี
ผู้สูงอายุเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง และไขมันมีน้อย และมีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด เลือดมา เล้ียงผิวหนังลดลง
การออกกําลังกาย
มีการ หดตัว และการคลายตัวของกล้ามเนื้อ
มีการทํางานเพิ่มขึ้นของระบบอื่น ๆ
อารมณ์
ผู้ที่มีความเครียดจะทําให้ไปกระตุ้นระบบประสาทซิมพาธิติก
Epinephrine
Nor-epinephrine
ฮอร์โมน
เพศหญิงมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิร่างกายมากกว่าเพศชาย
จะ เพิ่มอุณหภูมิภายในร่างกาย 0.3-0.6 ̊C (0.5 -1.0 ̊ F)
สิ่งแวดล้อม
สภาพแวดล้อม สามารถเพิ่มหรือลดอุณหภูมิของร่างกายได้
ภาวะโภชนาการและชนิดของอาหารที่รับประทาน
คนผอมมากจะมีเน้ือเยื่อใต้ผิวหนัง และไขมันน้อย ส่งผลให้อุณหภูมิร่างกายต่ำได้
การรับประทานเครื่องดื่มร้อนหรือเย็น สามารถทําให้ อุณหภูมิภายในช่องปากเปลี่ยนแปลงได้
การติดเชื้อในร่างกาย
แบคทีเรีย
ร่างกายจะผลิตทอกซินและกระตุ้นให้ ปล่อยสารไพโรเจน ส่งผลทําให้อุณหภูมิร่างกายสูงข้ึน
การประเมินอุณหภูมิของร่างกาย
การวัดอุณหภูมิทางปาก
การวัดอุณหภูมิทางรักแร้
การวัดอุณหภูมิทางทวารหนัก
การวัดอุณหภูมิโดยใช้เทอร์โมมิเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์
การวัดทางหู
การวัดทางผิวหนัง
ตรวจสอบการมีทวารหนักในเด็กทารก
เทอร์โมมิเตอร์
ถาดพร้อมแก้วท่ีบรรจุปรอท น้ําสบู่ และน้ํายาฆ่าเชื้อ ตามลําดับ
วาสลินสําหรับหล่อลื่น
นาฬิกาท่ีมีเข็มวินาที
ภาชนะใส่สําลีและกระดาษชําระที่สะอาด
ชามรูปไต
ปากกาน้ําเงินและแดง
กระดาษบันทึก
วิธีการประเมินอุณหภูมิของร่างกาย
ล้างมือให้สะอาด
บอกให้ผู้ป่วยทราบ
ตรวจสอบการทํางานของปรอท
จัดท่าของผู้ป่วย
วัดอุณหภูมิร่างกาย
เอาเทอร์โมมิเตอร์ออก
อ่านค่าอุณหภูมิท่ีได้
บันทึกลงกระดาษท่ีเตรียมไว้
นําอุปกรณ์ไปล้างให้สะอาดและเก็บเข้าท่ี
ข้อควรระวังในการวัดอุณหภูมิของร่างกาย
ไม่ควรวัดอุณหภูมิทางปากหลังจากดื่มน้ําเย็นหรือร้อน
ห้ามนําเทอร์โมมิเตอร์ที่วัดทางปากไปวัดทางทวารหนัก
เทอร์โมมิเตอร์ทางปากและทางทวารหนักให้แยกภาชนะใส่และแยกทําความสะอาด
ถ้าใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดทางรักแร้ ต้องเช็ดรักแร้ให้แห้งเสียก่อน
ถ้าใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดทางทวารหนัก ต้องทาวาสลินให้ลื่น
ถ้าใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดทางทวารหนัก ต้องทาวาสลินให้ลื่น
สลัดเทอร์โมมิเตอร์ให้ต่ำกว่าระดับ 35 ̊ C หรือ 95 ̊ F ก่อนวัดทุกคร้ัง
เช็ดเทอร์โมมิเตอร์ด้วยสําลี หรือกระดาษชําระทันทีเมื่อเอาออกจากผู้ป่วย
ห้ามนําเทอร์โมมิเตอร์ไปวางไว้นอกภาชนะท่ีใส่เทอร์โมมิเตอร์
ถ้าอุณหภูมิที่วัดได้สูงหรือต่ำกว่าปกติมาก
ต้องบันทึกผลการวัดของผู้ป่วยแต่ละคนลงในสมุดบันทึกทันทีเพื่อป้องกันการลืม
ภาวะอุณหภูมิร่างกายผิดปกติและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิของร่างกายผิดปกติ
อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
ระยะเริ่มต้น
ระยะไข้
ระยะสิ้นสุดไข้
การลูบตัวลดไข้ มี 4 วิธี
การลูบตัวด้วยน้ําธรรมดา
การลูบตัวด้วยน้ําเย็นจัด
การลูบตัวด้วยน้ําอุ่น
การเช็ดตัวด้วยแอลกอฮอล์
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อน
จัดสภาพแวดล้อมให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกเพื่อเพิ่มการระบายความร้อน
ดูแลเช็ดตัวลดไข้
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาลดไข้ตามแผนการรักษาของแพทย์
วัดอุณหภูมิร่างกายภายหลังการเช็ดตัว หรือหลังให้ยาลดไข้ 30 นาที
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อทําลายเชื้อจุลชีพ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความอบอุ่นในระยะท่ีมีอาการหนาวส่ัน
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารท่ีมีโปรตีน และคาร์โบไฮเดรตสูง
แนะนําให้ดื่มน้ํามาก ๆ ในรายที่ไม่มีข้อห้าม
บันทึกปริมาณน้ําเข้า-น้ําออก (I/O) เพื่อดูความสมดุลของสารน้ําในร่างกาย
ดูแลช่องปากให้เยื่อบุชุ่มชื้นทําความสะอาดช่องปากบ่อย ๆ ในกรณีที่ผู้ป่วยปาก แห้ง เนื่องจากการสูญเสียน้ํา
เตรียมเสื้อผ้าแห้งให้ผู้ป่วยใส่เพื่อให้สามารถระบายความร้อนได้ดีโดยการนําความ ร้อน
ติดตามการเปลื่ยนแปลงของอุณหภูมิร่างกาย
อุณหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติ
การพยาบาลผู้ป่วยท่ีมีอุณหภูมิร่างกายต่ำ กว่าปกติ
จัดสิ่งแวดล้อมให้อบอุ่น ปิดเครื่องปรับอากาศหรือปรับอุณหภูมิสูงข้ึน
เพิ่มความหนาของผ้าห่มหรือเพิ่มจํานวนผ้าห่มให้เกิดความอบอุ่นเพิ่มข้ึน
วางกระเป๋าน้ําร้อนหรือผ้าห่มไฟฟ้า เพิ่อเพิ่มความอบอุ่น ระวังอันตรายจากไฟฟ้า
คลุมหรือโพกศีรษะด้วยผ้าขนหนูผืนใหญ่ เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อน
ให้ดื่มน้ําหรือเครื่องดื่มอุ่น เป็นการเพิ่มอุณหภูมิแก่ร่างกายโดยการนําความร้อน
ให้ดื่มน้ําหรือเครื่องดื่มอุ่นๆ เป็นการเพิ่มอุณหภูมิแก่ร่างกายโดยการนําความร้อน
สัญญาณชีพ
ความหมายของสัญญาณชีพ
สัญญาณชีพ
สิ่งที่แสดงให้ทราบถึงการมีชีวิต
สิ่งที่สังเกตและตรวจพบ
อุณหภูมิ
ชีพจร
การหายใจ
ความดันโลหิต
อวัยวะที่สำคัญ
หัวใจ
ปอด
สมอง
การทำงานของระบบไหลเวียนเลือด
ระบบหายใจ
ข้อบ่งชีในการวัดสัญญาณชีพ
text
เมื่อแรกรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
วัดตามระเบียบแบบแผนท่ีปฏิบัติของโรงพยาบาลหรือตามแผนการรักษาของแพทย์
ก่อนและหลังการผ่าตัด
ก่อนและหลังการตรวจวินิจฉัยโรคท่ีต้องใส่เครื่องมือตรวจเข้าไปภายในร่างกาย
ก่อนและหลังให้ยาบางชนิดที่มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด
เมื่อสภาวะทั่วไปของร่างกายผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลง
ก่อนและหลังการให้การพยาบาลที่มีผลต่อสัญญาณชีพ
ค่าปกติของสัญญาณชีพ
สาเหตุของค่าสัญญาณชีพของแต่ละบุคคลที่แตกต่างกัน
อายุ
เพศ
ตรวจในขณะพัก หรือหลังการเคลื่อนไหว
ค่าสัญญาณชีพปกติในผู้ใหญ่
อุณหภูมิ = 36.5-37.5 องศาเซลเซียส
ชีพจร = 60-100 ครั้ง/นาที
หายใจ = 12-20 คร้ัง/นาที
ความดันโลหิต Systolic = 90-140 mmHg
Diastolic = 60-90 mmHg
ชีพจร
ความหมายและปัจจัยที่มีผลต่อการเต้นของชีพจร
การหดและขยายตัวของผนังหลอดเลือด
ปัจจัยที่มีผลต่อการเต้นของชีพจร
อายุ
เพศ
การออกกําลังกาย
ภาวะไข้
ยา
อารมณ์
ท่าทาง
ภาวะเสียเลือด
การประเมินชีพจร
Temporal pulse จับที่เหนือและข้าง ๆ ตา บริเวณ Temporal bone
Carotid pulse อยู่ด้านข้างของคอ คลําได้ชัดเจนท่ีสุดบริเวณมุมขากรรไกรล่าง
Brachial pulse อยู่ด้านในของกล้ามเน้ือ Bicep คลําได้ท่ีบริเวณข้อพับแขนด้านใน
Radial pulse อยู่ที่ข้อมือด้านในบริเวณกระดูกปลายแขนด้านนอกหรือด้านหัวแม่มือ
Femoral pulse อยู่บริเวณขาหนีบตรงกลาง ๆ ส่วนของเอ็นที่ยึดขาหนีบ
Popliteal pulse อยู่บริเวณตรงกลางข้อพับเข่า ถ้างอเข่าจะสามารถคลําได้ง่ายข้ึน
Dorsalis pedis pulse อยู่บริเวณกลางหลังเท้าระหว่างนิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้
Apical pulse อยู่ท่ียอดของหัวใจ หน้าอกด้านซ้ายบริเวณที่ตั้งของหัวใจ
Posterior tibial pulse อยู่บริเวณหลังปุ่มกระดูกข้อเท้าด้านใน
ลักษณะชีพจรที่ผิดปกติ
อัตรา (Rate) การเต้นของชีพจร
จังหวะ (Rhythm) การเต้นชีพจร
ปริมาตรความแรง (Volume) ความแรงของชีพจร
ความยืดหยุ่นของผนังของหลอดเลือด