Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
-
2อุณหภูมิร่างกาย
-
-
-
-
เเบ่งออกเป็น 2 ชนิด
อุณหภูมิผิวนอก Surface temperature เป็นอุณหภูมิเนื้อเยื่อชั้นผิวหลอดเลือดส่วนปลายเเละอวัยวะส่วนปลาย เช่น เเขน ขา
อุณหภูมิเเกนกลาง Core temperature เป็นอุณหภูมิของเนื้อเยื่อชั้นลึก เช่น ศีรษะ ทรวงอก ช่องท้อง ช่องท้องน้อย เป็นต้น
1 สัญญาณชีพ
-
-
ความหมาย
สัญญาณชีพ Vital sign
-
สามารถสังเกตเเละตรวจพบได้จาก อุณหภูมิ ชีพจร การหายใจเเละความดันโลหิต สิ่งเหล่านี้เกิดจากการทำงานของอวัยวะร่างกายที่สำคัญมากต่อชีวิต ได้เเก่ หัวใจ ปอด สมอง
3 ชีพจร
การประเมินชีพจร
-
วิธีการปฏิบัติ
-
พยาบาลวางปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง กดลงเบาๆตรงRadial artery ของผู้ป่วยทําให้รู้สึกถึงการหดตัว และขยายตัวของหลอดเลือด
-
-
การนับอัตราการเต้นของหัวใจในเด็กอาจต้องใช้วิธีฟังอัตราการเต้นของหัวใจแทนการคลําชีพจร เพราะในเด็กเล็กคลําชีพจรได้ไม่ชัดเจน
-
-
-
-
ข้อควรจําในการวัดชีพจร
พยาบาลไม่ควรใช่นิ้วหัวแม่มือในการคลําชีพจร เพราะหลอดเลือดที่นิ้วหัวแม่มือเต้นแรงอาจทําให้สับสนกับชีพจรของตนเอง
-
-
-
-
4 การหายใจ
การประเมินการหายใจ
-
มีรายละเอียดดังนี้
-
วิธีการปฏิบัติ
-
-
เริ่มนับการหายใจหลังจากการนับชีพจรเสร็จแล้วโดยพยาบาลยังคงจับข้อมือผู้ป่วยไว้เสมือนว่ากําลังนับชีพจร เพื่อป้องกันผู้ป่วยเกร็งและควบคุมการหายใจด้วยตนเอง
นับอัตราการหายใจ สังเกตความลึก จังหวะ และลักษณะการหายใจ ในผู้ใหญ่ สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอกในเด็กสังเกตการเคลื่อนไหวของท้อง
-
-
-
-
-
5ความดันโลหิต
การประเมินความดันโลหิต
มี 2วิธี
การวัดความดันโลหิตโดยทางตรง(Central venous blood pressure: C.V.P) โดยวิธีใส่สายสวนเข้าไปในSuperior vena cavaและใช้เครื่องมือวัดความดันของเลือดที่จะเข้าหัวใจห้องบนขวา
-
ขั้นตอนการปฏิบัติ
-
-
พันผ้าพันรอบแขนเหนือข้อพับขึ้นไป1 นิ้วไม่ให้แน่นหรือหลวมจนเกินไปโดยให้ตําแหน่งชีพจรที่คลําได้อยู่ระหว่างสายยาง2 สายเพื่อฟังเสียงความดันเลือดได้ชัดเจน
บีบลูกยางด้วยอุ้งมือให้ลมเข้าไปในผ้าพันแขนดันให้ปรอทในเครื่องวัดสูงกว่าค่าปกติของSystolic pressureประมาณ20 มิลลิเมตรปรอท(140+20=160) แรงดันปรอทที่บีบขึ้นไปไม่ควรมากเกินไป
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-