Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2การประเมินสัญญาณชีพ, ภาวะอุณหภูมิร่างกายผิดปกติ, image,…
บทที่ 2การประเมินสัญญาณชีพ
สัญญาณชีพ
ข้อบ่งชี้ในการวัดสัญญาณชีพ
ก่อนและหลังการตรวจวินิจฉัยโรคที่ต้องใส่เครื่องมือตรวจเข้าไปภายในร่างกาย
ก่อนและหลังให้ยาบางชนิด (Pre-post medicine)
ก่อนและหลังการผ่าตัด(Per-post op)
เมื่อสภาวะทั่วไปของร่างกายผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลง
วัดตามระเบียบแบบแผนที่ปฏิบัติของโรงพยาบาล(Routine)
ก่อนและหลังการให้การพยาบาลที่มีผลต่อสัญญาณชีพ
เมื่อแรกรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล(Admit)
ค่าปกติของสัญญาณชีพ
ค่าสัญญาณชีพของแต่ละบุคคลปกติจะไม่เท่ากัน
อายุ
เพศ
การตรวจขณะพักหรือเคลื่อนไหว
ค่าสัญญาณชีพปกติในผู้ใหญ่
ชีพจร 60-100ครั้ง/นาที(ต้องเป็นเลขคู่)
หายใจ 12-20ครั้ง/นาที (ต้องเป็นเลขคู่)
อุณหภูมิ 36.5-37.5องศาเซลเซียส
ความดันโลหิต Systolic 90-140mmHg
ความดันโลหิต Diastolic 60-90mmHg
ความหมายของสัญญาณชีพ
เป็นสิ่งที่แสดงให้ทราบถึงการมีชีวิต สามารถสังเกตและตรวจพบได้จากอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต
อุณหภูมิของร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิของร่างกาย
อารมณื
การออกกำลังกาย
ฮอร์โมน ที่เปลี่ยนแปลงเมื่อประจำเดือนผู้หญิงมา
การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
อุณหภูมิของสภาพแวดล้อม
อากาศที่ผันแปรในรอบวัน
อาหารที่รับประทาน
การติดเชื้อในร่างกาย
การประเมินอุณหภูมิของร่างกาย
การวัดอุณหภูมิทางรักแร้(Axillary temperature)
ใช้วัดได้ทุกวัย
การวัดอุณหภูมิทางปาก (Oral temperature)
เป็นวิธีที่คนนิยมใช้มากที่สุด
การวัดอุณหภูมิโดยใช้เทอร์โมมิเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic temperature)
การวัดทางหู
ค่าอุณหภูมิรวดเร็ว
การวัดทางผิวหนัง
การวัดอุณหภูมิทางทวารหนัก (Rectal temperature)
ใช้วัดกับเด็กต่ำกว่า3ปี กับผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
ทาวาสลินก่อนและลําปรอทลงต่ํากว่าขีด35 °C
ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างความร้อน และการระบายความร้อนออกจากร่างกาย
กลไกของร่างกาย
การพาความร้อนออกจากร่างกายโดยการเช็ดตัวจะทำให้ไข้ลด
การแผ่รังสี เช่นการยืนผิงไฟ
การนำความร้อนออกจากร่างกายโดยการดื่มน้ำแล้วปัสสาวะเอาความร้อนออก
การระเหยเป็นไอออกทางผิวหนัง การหายใจหรือการขับถ่าย
กลไกของการเกิดพฤติกรรม
การถอดเสื้อผ้าเพื่อให้รู้สึกเย็นขึ้น
การย้ายไปอยู่ในที่เย็น-ร้อน
ชีพจร
การประเมินชีพจร
สามารถคลำได้9 ซึ่งจะคลําตามตําแหน่งเส้นเลือดแดงที่ผ่านเหนือหรือข้างๆกระดูก บนร่างกาย
คลำเพื่อตรวจสอบการทำงานเบื้องต้นของหัวใจ
นาฬิกาที่มีเข็มวินาทีและอุปกรณ์ที่ใช้จดบันทึก
การปฏิบัติ
ล้างมือ - ขออนุญาตคนไข้ - วางปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง กดลงเบาๆตรงRadialartery - ประเมินชีพจรใช้เวลา 1 นาที - นับอัตราการเต้นของหัวใจ - จดบันทึก - ล้างมือ
ข้อควรจำ
ไม่ควรใช่นิ้วหัวแม่มือในการคลําชีพจร
วัดชีพจรผู้ป่วยหลังทํากิจกรรม 5-10 นาที
อธิบายแนะนําให้ผู้ป่วยไม่ควรพูดขณะวัดชีพจร
ลักษณะชีพจรที่ผิดปกติ
อัตรา(Rate) การเต้นชีพจรอัตรา การเต้นของชีพจรปกติในวัยผู้ใหญ่อยู่ระหว่าง 60-100 ครั้งต่อนาที
จังหวะ(Rhythm) การเต้นชีพจร จังหวะและช่วงพักของชีพจร ชีพจรจะเต้นเป็นจังหวะ และมีช่วงพักระหว่างจังหวะ
ปริมาตรความแรง(Volume)
ความแรงของชีพจรขึ้นอยู่กับปริมาตรของเลือดในการกระทบผนังของหลอดเลือดแดง
ปริมาตรความแรงของชีพจร วัดเป็นระดับ 0ถึง 4
ระดับ 1Thready มีลักษณะชีพจรแผ่วเบา
ระดับ 2 Weak ชีพจรแรงกว่าระดับ 1 ค่อนข้างเบา
ระดับ 0ไม่มีชีพจร คลําชีพจรไม่ได้
ระดับ 3Regular ลักษณะชีพจรเต้นจังหวะสม่ําเสมอ
ระดับ 4 Bounding pulseลักษณะชีพจรเต้นแรง
ความยืดหยุ่นของผนังของหลอดเลือดในผู้สูงอายุผนังหลอดเลือดแดงมีความยืดหยุ่นน้อยขรุขระ และไม่สม่ําเสมอ
ความหมายและปัจจัยที่มีผลต่อการเต้นของชีพจร
คือการหดและขยายตัวของผนังหลอดเลือด
ปัจจัยที่มีผลต่อการเต้นของชีพจร
ภาวะไข้อัตราการเต้นของชีพจรเพิ่มขึ้น
ยาบางชนิด ลดอัตราการเต้นของชีพจร
การออกกําลังกาย
อารมณ์ จะไปกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติกทําให้หัวใจบีบตัวเร็วขึ้น
เพศหญิงจะเร็วกว่าชายเล็กน้อยในช่วงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่
ท่าทาง ขณะอยู่ในท่ายืนหรือนั่งชีพจรจะเต้นเร็วขึ้น
อายุที่มากขึ้นจะทำให้ชีพจรจะลดลง
ภาวะเสียเลือด
การหายใจ
การประเมินการหายใจ
วิธีปฏิบัติ
ล้างมือ - บอกผู้ป่วยให้ทราบ - เริ่มนับการหายใจ - สังเกต ความลึก ความเร็วในการหายใจ - ประเมินหายใจเต็ม 1 นาที - บันทึก -ล้างมือ
อุปกรณ์
ลักษณะการหายใจที่ผิดปกติ
อัตราการหายใจปกติอยู่ระหว่าง 12-20ครั้งต่อนาที มากหรือน้อยกว่านั้นจะผิดปกติ
Tachypnea อัตราการหายใจในผู้ใหญ่ มากกว่า 24ครั้ง/นาที
Bradypneaอัตราการหายใจในผู้ใหญ่ น้อยกว่า 10ครั้ง/นาที
Apneaการหยุดหายใจ
ความลึกของการหายใจ
Hypoventilationเป็นการหายใจช้าและตื้น
Hyperventilationเป็นการหายใจเร็วและลึก
จังหวะของการหายใจ
Cheyne stokesเป็นการหายใจเป็นช่วงๆไม่สม่ําเสมอ หายใจเร็วลึกและตามด้วยช่วงที่หยุดหายใจ แล้วกลับมาหายใจเร็วอีก
Biotเป็นการหายใจปกติสลับกับการหายใจเร็วลึก ไม่สม่ําเสมอเป็นช่วงสั้นๆ 2-3ครั้ง
ลักษณะการหายใจต้องใช้แรง หายใจมีเสียงและเจ็บปวดเวลาหายใจ
ความหมายและปัจจัยที่มีผลต่อการหายใจ
การนําออกซิเจนจากอากาศเข้าสู่ร่างกาย และขับคาร์บอนไดออกไซด์ออก โดยผ่านปอดตามลมหายใจเข้าออก
แบ่งได้ 2 ขั้นตอน
การหายใจเพื่อแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์
แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งอยู่ในเลือดกับเซลล์ของเนื้อเยื่อต่างๆในร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายใจ
การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์สภาวะแวดล้อมหรืออิทธิพลจากความเจ็บป่วย
กระบวนการพยาบาลในการประเมินสัญญาณชีพ
1.ซักประวัติการสัมผัสเชื้อ
3.วางแผนการพยาบาล
4.การปฏิบัติการพยาบาล
2.วินิจฉัยทางการพยาบาล
5.ประเมินผลสัญณานชีพ
ควมดันโลหิต
การประเมินความดันโลหิต
การวัดความดันโลหิตโดยทางตรง(Central venous blood pressure: C.V.P)
โดยวิธีใส่สายสวนเข้าไปในSuperior vena cavaและใช้เครื่องมือวัดความดันของเลือดที่จะเข้าหัวใจห้องบนขวา
วัดความดันโลหิตทางอ้อม
วิธีการฟังและวิธีการคลําเครื่องมือที่ใช้สําหรับวัดความดันโลหิตได้แก่StethoscopeและSphygmomanometer
ลักษณะความดันโลหิตที่ผิดปกติ
Hypertension ความดันโลหิตสูง
มีอาการปวดศีรษะ บริเวณท้ายทอย ตาพร่า หรือมองไม่เห็น คลื่นไส้ อาเจียน ชักและหมดสติในที่สุด
การป้องกันภาวะแทรกซ้อน
จํากัดอาหารพวกแป้ง ไขมัน น้ําตาล
พักผ่อนให้เพียงพอ และออกกําลังกายอ
จํากัดเกลือ หรืออาหารเค็ม
Hypotension ความดันโลหิตต่ำ
มีอาการ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เหนื่อยง่ายกว่าปกติ หน้าซีด เหงื่อออก ตัวเย็น เป็นลมหมดสติ
หลังจากนอนนาน ๆ แล้วมีอาการหน้ามืดเหมือนจะเป็นลม
Orthostatic hypotension
การเปลี่ยนจากท่านอนราบเป็นท่ายืนทันที
ความหมายและปัจจัยที่มีผลต่อความดันโลหิต
คือ แรงดันของเลือดที่ไปกระทบกับผนังเส้นเลือดแดงมีหน่วยเป็นมิลลิเมตรปรอท(มม.ปรอทหรือmm.Hg.)
ปัจจัยที่มีผล
อายุ เมื่ออายุมากขึ้นจะทำให้ความยืดหยุ่นของหลอดเลือดลดลง
อิริยาบถขณะวัดความดันโลหิตและการออกกําลังกาย
ความเครียดและการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
ร่างกาย อย่างคนอ้วนความดันจะสูงกว่าคนผอม
ภาวะอุณหภูมิร่างกายผิดปกติ
อุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ
ไข้แบ่งออกเป็น3ระยะ
ระยะไข้
หน้าแดง ผิวหนังอุ่
ระยะสิ้นสุดไข้
มีเหงื่อออก
ระยะเริ่มต้น
หนาวสั่น
การลูบตัวลดไข้มี 4 วิธี
การลูบตัวด้วยน้ําเย็นจัด(Cold sponge)
การลูบตัวด้วยน้ําอุ่น (Warm sponge)
การลูบตัวด้วยน้ําธรรมดา(Tepid sponge)
การเช็ดตัวด้วยแอลกอฮอล์ (Alcohol sponge)
ร่างกายมีการรับความร้อนมากจนไม่สามารถนำความร้อนออกจากร่างกายได้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ
จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
ให้ดื่มน้ำมากๆ
ใส่เสื้อผ้าที่ระบายความร้อนดี
รักษาตามแผนการรักษาของแพทย์
อุณหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติ
ร่างกายสูญเสียความร้อนมากไป
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิร่างกายต่ํากว่าปกติ
จัดสิ่งแวดล้อมให้อบอุ่น
ถูและนวดผิวหนังเพื่อเพิ่มความร้อน
อยู่กับผู้ป่วยเพื่อไม่ให้เกิดความวิตกกังวล
ปรอทวัดไข้ชนิดอมในปาก