Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย(Drug absorption)
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
วิธีการผลิต
ขนาดยาที่ให้(dosage)
ขนาดโมเลกุลของยา
คุณสมบัติในการละลายในไขมัน (lipophilic)
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
การให้ยาผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
การดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ(ยาแบบสูดดม)
การให้ยาดูดซึมผ่านทางผิวหนัง
การให้ยาแบบเห็บทวารหนักหรือช่องคลอด
พยาธิสภาพของร่างกาย เช่น ท้องเสีย ท้องผูก คลื่นไส้อาเจียน
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
การได้รับอาหารอื่หรือยาอื่นร่วมด้วย
การกระจายตัวของยา(Drugs distribution)
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
ปริมารการไหลเวียนของเลือไปยังอวัยวะนั้นๆ
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา (Drug metabolism, Drug biotransformation)
การแปรสภาพยา
การกระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา (mechanism of drug activation)
ยาบางชนิดยังไม่สามารถออกฤทธิ์ได้หลังให้ยา จำเป็นต้องถูกเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมี
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา (termination of drug action)
การแปรสภาพยาช่วยทำให้ยามีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดีขึ้น
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์อาจอยู่ที่ไซโตพลาสซึม
ในร่างกายมี เอนไซม์
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
สิ่งแวดล้อม
อายุ เด็กและผู้สูงอายุจะไวต่อฤทธิ์และพิษของยามากกว่าผู้ใหญ่
พันธุกรรม
ปฎิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
ในขณะที่ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์
ความเจ็บป่วยและความสามารถในการทำงานของตับ
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์
การขับถ่ายยา (Drug excretion)
ร่างกายสามารถกำจัดยาออกได้ทางไต ตับ น้ำดี และปอด นอกจากนี้ยาอาจถูกกำจัดออกทางน้ำนมและเหงื่อได้ด้วยแต่ปริมาณที่น้อยมาก
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
Loading dose ขนาดยาที่ให้ครั้งแรก
Onset ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการ
ค่าครึ่งชีวิต
Duration of action ระยะเวลาที่เริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการจนถึงหมดฤทธิ์ที่ต้องการ
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamic)
การจับของยากับ receptor
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาที่ใช้กับการตอบสนองที่เกิดขึ้นในร่างกาย
กลไลการออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
receptor ตัวรับ
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
agonist ยาที่จับกับตัวรับ
antagonist ยาที่จับกับตัวรับแล้วสามารถลดหรือบดบังฤทธิ์ของ agonistในการจับกับตัวรับ
partial agonist ยาที่จับกับตัวรับแล้วออกฤทธิ์บางส่วน
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy ความสามารถของยาที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
Potency ความแรงของฤทธิ์ยา
Affinity ความสามารถของยาในการจับกับตัวรับ
ระดับความปลอดภัยของยา (Therapeutic index; TI)
การหาระดับความปลอดภัยของยามักจะทำการทดลองผ่านสัตว์ทดลอง เช่น หนูแรท หรือหนูเมาส์ ระดับความปลอดภัยของยาเป็นสัดส่วนของขนาดยาที่ทำให้หนูตาย 50% ต่อขนาดยาที่ได้ผลต่อการรักษา 50%
TI=LD50/ED50
ยาที่มีค่า therapeutic index ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ เช่น litium, digoxin
ยาที่มีค่า therapeutic index สูงจะมีความปลอดภัยในการใช้สูง
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Tolerance
เป็นการดื้อหรือทนฤทธิ์ของยา ซึ่งเกิดจากการได้รับยาชนิดนั้นหลายครั้งทำให้มีอาการตอบสนองต่อยาในครั้งหลังๆ ลดลง
Tachyphylaxis
การดื้อยาที่เกิดขึ้นได้รวเร็วเมื่อได้รับยาเพียง 2-3 ครั้ง
Hypersensitivity
การแพ้ยาจากที่ร่างกายมีแอนติบอดีต่อต้านต่อโครงสร้างโมเลกุลของยาหรือส่วนประกอบของยา ทำให้เกิดอาการจากปฎิกิริยาภูมิแพ้ เช่น ผื่นคัน หายใจลำบาก หัวใจเต้นเร็ว คลื่นไส้ อาเจียน
Hyperactivity
การตอบสนองต่อยาที่มากกว่าปกติ
การให้ยานอนหลับกับผู้ป่วยบางคนจะไม่หลับในขณะที่ผู้ป่วยบ้างคนหลับได้นานกว่าปกติ
Placebo effect
ฤทธิ์หลอก
Hyporeactivity
การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติทำให้ไม่เกิดฤทธิ์รักษา
สาเหตุการตอบสนองต่อยาที่แตกต่างกัน
มีความแตกต่างกันในความเข้มข้น endogenous receptor ligands
มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนหรือการทำงานของ receptor
การเปลี่ยนแปลงของปริมาณยาที่จะไปถึง receptor ซึ่งจะขึ้นกับ pharmacokinetic ของยา เพศ อายุ น้ำหนัก ภาวะความเจ็บปวด รวมถึงการทำงานของตับและไต
มีการเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบของอวัยวะที่เกิดการตอบสนองจากการกระตุ้น receptor
Idiosyncrasy
การตอบสนองที่แตกต่างจากปกติที่ไม่พบเกิดในคนส่วนใหญ่ มักเกิดจากความแตกต่างทางพันธุกรรมในการเปลี่ยนแปลงยา