Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
วัตถุที่ได้รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค
วัตถุที่เป็นเคมีภัณฑ์
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยา
เภสัชกรรม (Pharmacy)
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยา และจ่ายยา
ความสำคัญของเภสัชวิทยาต่อวิชาชีพพยาบาล
ถ้าหากเกิดความประมาทของพยาบาลทำให้ผู้ป่วยได้รับผลที่ไม่พึงประสงค์จากยาแม้เพียงระดับเล็กน้อย
พยาบาลจะมีความผิดจากการปฏิบัติวิชาชีพพายาบาล
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาควบคุมพิเศษ
ยาที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาควบคุมพิเศษ
ยาใช้ภายนอก
ยาที่มุ่งใช้ภายนอก ไม่รวมถึงยาใช้เฉพาะที่
ยาอันตราย
ยาที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาอันตราย
ยาใช้เฉพาะที่
ยาที่มุ่งใช้เฉพาะที่กับผิวหนัง
ยาแผนโบราณ
ยาที่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน
ยาแผนปัจจุบัน
นาที่ใช้สำหรับการประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน
ยาบรรลุเสร็จ
ยาที่ได้ผลิตขึ้นเสร็จในรูปต่างๆ บรรจุในภาชนะ และมีฉลากควบถ้วน
ยาสมุนไพร
ยาที่ได้จากพฤกษชาติ สัตว์ แร่ ซึ่งไม่ได้ปรุงหรือแปรสภาพ
แบ่งตามเภสัชตำรับ
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
แหล่งที่มาของยา
ประโยชน์ในการรักษา (อาจใช่ร่วมกับการแบ่งยาตามกลไกการออกฤทธิ์)
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
พืช
ราก
ใบ
ลำต้น
เมล็ด
ผล
สัตว์
ตับ
ตับอ่อน
ดีหมู
ดีวัว
แร่ธาตุ
ไอโอดีน
ทองแดง
น้ำมันเกลือแร่
จากการสังเคราะห์
ปัจจุบันส่วนใหญ่ได้มาจากการสังเคราะห์ โดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมี
การเรียกชื่อยา
ชื่อสามัญทางยาหรือตัวยา
ชื่อตามร้านค้า
ชื่อตามสูตรเคมี
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ยาน้ำสารละลายที่ทำตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยากลั้วคอ
ใสและเข้มข้น ตัวยามีฤทธิ์ต้านการฆ่าเชื้อ
ยาอมป้วนปาก
ใช้ทำความสะอาดดับกลิ่นปาก
ยาจิบ
น้ำใส มีลักษณะหนืดเล็กน้อย
ยาหยอดจมูก
ตัวยาละลายในน้ำ ใช้พ่นหรือหยอดเข้าทางจมูก
ยาน้ำเชื่อม
สารละลายเข้มข้นของน้ำตาล
ยาหยอดหู
ยาน้ำใส บางครั้งเป็นยาแขวนตะกอน
ยาน้ำใส
เป็นยาน้ำใสประกอบด้วยตัวยา
ยาสวนล้าง
ชนิดปราศจากเชื้อสำหรับล้างบาดแผล
น้ำปรุง
ใสและอิ่มตัวของน้ำมันระเหยง่าย
ยาน้ำสวนทวารหนัก
เป็นสารละลายใส
ยาน้ำสารสะลายที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาอิลิกเซอร์
ชนิไฮโรแอลกอฮอล์
ยาสปริริต
สารหอมระเหยง่าย
ยาโคโลเดียน
ยาน้ำที่มันลักษณะข้น เหนียว
ยากลีเซอริน
ยาน้ำที่ลักษณะกึ่งแข็ง
ยาถูนวด
ยาน้ำที่ใช้ภายนอก
ยาป้าย
ยาน้ำที่ีตัวยาที่มีฤทธิ์ต้านการติดเชื้อสมานแผล ละลายอยู่ในน้ำ
ยาน้ำกระจายตัว
เจล
มีขนาดเล็ก ไม่ละลายน้ำ ลักษณะเป็นกาว
โลชั่น
ยาน้ำแขวนตะกอน ใช้ภายนอก
แมกมาและมิลค์
คล้ายเจล สารยามีขนาดใหญ่ ยาหนืดกว่า
มิกซ์เจอร์
ยาน้ำผสม ใส่หรือไม่ใส่ยาแขวนตะกอนก็ได้
อิมัลชั่น
มี่ทั้งยากินและยาเฉพาะที่ ยาน้ำที่มีส่วนผสมของน้ำมัน
รูปแบบกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง
ครีม
รูปแบบที่เป็นของแข็ง
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาอม
ยาอมใต้ลิ้น
ยาผงเดือดฟู่
ยาเม็ด
ยาผง
ยาแคปซูล
ยาเหน็บ
เป็นเภทอื่นๆ
ยาฉีด
ยาทาผิวหนัง
ยาพ่นฝอย
ยาดม
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
ปัจจัยเกี่ยวกับยา
วิธีการผลิตยา รูปแบบยา
ขนาดยาที่ให้
ขนาดโมเลกุลของยา
คุณสมบัติในการละลายในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
การให้ยาโดยฉีดใต้ผิวหนัง
การให้ยาดูดซึมผ่านผิวหนัง
การให้ยาแบบเหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด
พยาธิสภาพของร่างกาย
การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วมด้วย
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
การกระจายตัวของยา
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ลชนิด
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
Phase I reaction : enzyme จะเปลี่ยนโครงส้รางทางเคมีของยา โดยอาศัยกระบวนการ oxidation , reduction , hrdrolysis เป็นการแปรสภาพยาโดยอาศัย เอนไซม์ cytochrom P450
Phase II : ยาหรือ metabolite จาก Phase I ที่ไม่มีความเป็น polar มากพอที่จะถูกขับออกทางไตจะถูกทำให้ละลายในน้ำได้ดีขึ้นโดยการรวมตัวกับ endogenous compound ในตับ
ปัจจัยที่มีผลต่อ Drug metabolism
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
อายุ
ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์
ในขณะที่ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์
ความเจ็บป่วยและความสามารถในการทำงานของตับ
การขับถ่ายยา
อวัยวะหลักในการกำจัดยาคือ ไต สารที่เป็น polar compound จะถูกกำจัดออกได้ดีกว่าสารที่มี high lipid solubility จึงเห็นว่ายาที่เป็น lipid soluble จะถูกเปลี่ยนแปลงยาให้เป็นสาร polar compound ก่อนจึงจะถูกจับออกมาได้
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
กลไกการออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
Agonist
ยาที่จับกับตัวรับแล้วทำให้เกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตัวรับ (Receptor)
เป็นองค์ประกอบของเซลล์ซึ่งอาจะพบได้ที่ผนังเซลล์ โดย receptor มีคุณสมบัติที่จะจดจำ และจับกับสารที่มีลักษณะโครงส้รางจำเพาะเจาะจงและทำให้การทำงานของเซลล์นั้นๆเปลี่ยนแปลง
Antagonist
ยาที่จับกับตัสรับแล้สามารถลดหรือบดบังฤทธิ์ของ agonist
Parrial agonist
ยาที่จับกับตัวรับแล้วออกฤทธิ์เพียงบางส่วน
การแปลผันของการตอบสนองต่อยา
Idiosyncrasy
การตอบสนองต่อยาที่แตกต่างจากปกติที่ไม่พบในคนส่วนใหญ่
Hyporeactivity
การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติ
Hypereactivity
การตอบสนองต่อยาที่มากกว่าปกติ
Hypersensitivity
การแพ้ยา
Tolerance
การดื้อหรือทนของฤทธิ์ยา
Tachyphylaxis
การดื้อยาที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับยา 2-3 ครั้ง
Placebo effect
ฤทธิ์หลอก
ระดับควาปลอดภัยของยา
มักจะทำทดลองผ่านทางสัตว์ทดลอง
TI = LD50 / ED50