Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.3ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์, นางสาวสุกัญญา พลเยี่ยม รหัสนักศึกษา60270110…
4.3ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
สาเหตุและพยาธิสภาพ
ถุงน้ำคร่ำแตก
การหดรัดตัวของมดลูกที่ถี่และรุนแรง
รกรอกตัวก่อนกําหนด
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลานาน
ปัจจัยเสริมอื่นๆ เช่น น้ำคร่ำมีขี้เทาปน การคลอดเฉียบพลัน รกเกาะต่ำ เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
ระยะที่1 ภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลว(hemodynamiccollapse )
แน่นหน้าอก
ทารกในครรภ์อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน
หายใจลําบาก
หัวใจและปอดหยุดทำงานตรวจพบความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเต้นเร็ว
เขียวตามปลายมือปลายเท้า
ระยะที่2 ภาวะเลือดไม่แข็งตัว (coagulopathy)
ตรวจพบเกร็ดเลือดต่ำ
ระยะเวลาการแข็งตัวของเลือดยาวนานเกิดภาวะ DICและเสียชีวิตในที่สุด
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีมีการตกเลือดหลังคลอด
การรักษา
ป้องกันระบบการไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจล้มเหลว
ป้องกันและแก้ไขภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติและภาวะตกเลือด
ป้องกันและแก้ไขภาวะขาดออกซิเจน ด้วยการให้ออกซิเจน 100%
ช่วยคลอดให้เร็วที่สุดเพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะขาดออกซิเจนของทารก
ภาวะตกเลือดหลังคลอด (Postpartum Hemorrhage)
สาเหตุ
Hematoma
Coagulopathy
Retained pieces of placenta or membrane
Uterine subinvolution
Tear of birth canal
Uterine atony
Uterine subinvolution
ผลกระทบต่อทารก
ศีรษะของทารกได้รับอันตรายจากการรับทารกไม่ทัน
ทารกเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกในสมอง
เสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือขาด
การจําแนกการตกเลือดหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดภายหลัง (Late or delayedPPH)การตกเลือดภายหลัง 24 ชั่วโมงจนถึง6 สัปดาห์หลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดทันที(Early or immediatePPH)
ตกเลือดภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
แนวทางการป้องกันและรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอด
Readiness
Response
Recognition and Prevention
Reporting and Learning
การประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการตกเลือดในมารดาหลังคลอด
Black ground and Body condition
Breast and Lactation
Uterus
Bladder
Bleeding or Lochia
Episiotomy
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitous Labor
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดฉีกขาด
ติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
ตกเลือดหลังคลอด
อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด
มดลูกแตกจากการหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรง
เกิดการคั่งของเลือดภายใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
ต่อทารก
เลือดออกในสมอง
อาจเกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากขึ้น
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ทารกได้รับบาดเจ็บจากการช่วยคลอดไม่ทัน
อาการและอาการแสดง
มีอาการเจ็บครรภ์อย่างมากมดลูกมีการหดรัดตัวอย่างรุนแรงและถี่มากกว่า5 ครั้ง ในเวลา10 นาที
ตรวจภายในพบปากมดลูกเปิดขยายเร็วครรภ์แรกปากมดลูกเปิดขยายมากกวา่ หรือเท่ากับ5 เซนติเมตร/ชั่วโมง
ปากมดลูกเปิดมากกว่าหรือเท่ากับ 10 ซม./ชม.
สาเหตุ
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกวา้ง
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อช่องทางคลอดไม่ดี
ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รู้สึกอยากเบ่งซึ่งพบได้น้อยมาก
ผู้คลอดครรภ์หลัง
ผู้คลอดไวต่อการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
เคยมีประวัติคลอดเฉียบพลันหรือคลอดเร็ว
ทารกตัวเล็ก
การรักษา
รายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกควรหยุดให้ยาและดูแลอย่างใกล้ชิดอาจให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
คลอดเฉียบพลันภายหลังคลอดแพทย์มักจะให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อ และให้ยา Methergin
ให้การดูแลตามอาการ
การผ่าตัด
กระบวนการพยาบาล
การซักประวัติ
ความไวต่อการเร่งคลอด
ลักษณะอาการเจ็บครรภ์
หรืออาการอื่นๆร่วมกับการเจ็บครรภ์
ประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือการคลอดเร็วในครรภ์ก่อน
การตรวจร่างกาย
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การฟังเสียงหัวใจทารก และติดตาม Electronic Fetal monitoring
ตรวจภายใน
ภาวะจิตสังคม
นางสาวสุกัญญา พลเยี่ยม
รหัสนักศึกษา602701104
นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่4 รุ่นที่35