Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา - Coggle Diagram
หลักการดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา
2.1การดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
2.2.1 หลักคําสอนในพุทธศาสนา
ข้อผู้พันระหว่างชีวิตมนุษย์กับความจริงสูงสุดที่มนุษย์เชื่อ
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานของหลักคําสอน
แก่นหรือสาระสําคัญของคําสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรม
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ
การรู้จักบุญคุณและตอบแทน
หลักปฏิบัติศีลธรรม
โอวาทปาติโมกข์
การไม่ทําความชั่ว
การบําเพ็ญแต่ความดี
ทําจิตให้สะอาดบริสุทธิ์
ศีล 5เป็นหลักปฏิบัติพื้นฐานของชาวพุทธ
1.งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
2.งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
3.งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
4.งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
ศาสนาพุทธกล่าวถึงความจริงสูงสุด
ได้เเก่
กฏไตรลักษณ์ หมายถึง กฏของธรรมชาติ
อนิจจัง
ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว
ทุกขัง
ความทุกข์
อนัตตา
ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อริยสัจ 4
มรรค
ทุกข์
สมุทัย
นิโรธ
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิตในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
อธิบายดังนี้
เป็นความดับสนิทของตัณหา
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง
อสังขตธรรม
ความคลายกําหนัด
อายตนะ
มรรค8
สัมมาทิฏฐิ
ความเห็นที่ถูกต้อง
สัมมาสังกัปปะ
ความคิดที่ถูกต้อง
สัมมาวาจา
วาจาที่ถูกต้อง
สัมมากัมมันตะ
การปฏิบัติที่ถูกต้อง
สัมมาอาชีวะ
การหาเลี้ยงชีพที่ถูกต้อง
สัมมาวายามะ
ความเพียรที่ถูกต้อง
สัมมาสติ
การมีสติที่ถูกต้อง
สัมมาสมาธิ
การมีสมาธิที่ถูกต้อง
2.2.2พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
หมอชีวกโกมารภัจจ์ ดูเเลพระพุทธเจ้า
เสวย ยาคู งา นำ้ร้อนละลายน้ำอ้อย เป็นต้น
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
พระพุทธเจ้าทรงฟังพระมหาจุนทะสาธยาย
หายจากอาการ
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
พรรษาสุดท้ายพระพุทธเจ้าทรงประชวนหนัก
ทรงมีพระสติสัมปชัญญะ
ไม่พรั่นพรึง
การดูแลรักษาด้านสังคม
อัครสาวก
พระโมกคัลลานะ
ดูเเลพระสารีบุตร
2.2.3 การนําผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 1
ตามความเชื่อและความศรัทธา
นิยมบริโภคอาหารเจ
กินผักกินไม้หยุดทําลายชีวิตสัตว์
ศีลข้อ 2
การเป็นคนดีที่มีศีลธรรม
ข้อปฏิบัติ คือ
การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน
ส่งผลให้เกิด
ไม่ความเครียด
ไม่มีความอิจฉาริษยา
ศีลข้อ 3
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์
การติดเชื้อเอชไอ
ดังนั้นกลยุทธ์ของการรณรงค์
รักเดียวใจเดียวไม่เกี่ยวข้องเอดส์
ผู้ที่ประพฤติผิดศีธรรมในกาม
ผู้ที่รักร่วมเพศ
รักเพศเดียวกัน
ศีลข้อ 4
การโกหก
พูดไม่จริง
ศีลข้อ 5
เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอออล์
มีผลร้ายต่อสุขภาพ
สิ่งแวดล้อมที่เป็นมลภาวะ
2.2.4การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
กรรมอารมณ์ คือ
อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทําไว้
ดีก็ตามไม่ดีก็ตามเวลาจิตใกล้ดับอารมณ์เหล่านี้จะมาปรากฏทางด้านจิตใจ
กรรมนิมิตคือ
เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทําไว้แล้ว
ดีก็ตามไม่ดีก็ตาม เวลาใกล้จะดับจิต กรรมดีและกรรมชั่วที่ได้ทําไว้จะมาปรากฏให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตาย
คตินิมิตหมายถึง
เครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็น
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนา
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และไม่แน่นอน
การประคองรักษาจิตให้สงบ
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนา
อยู่ที่สภาพจิตก่อนตายให้ระลึกถึงสิ่งที่ดี
พระรัตนตรัย
วามดีที่ได้ทํามา
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
ช่วยให้เขายอมรับความตาย
กล่าวคําอําลา
การให้ความรัก ความเข้าใจ
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การใส่อุปกรณ์
การทํางานเป็นทีม
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร
6.การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
การบรรเทาความทุกข์ทรมาน
1.ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
เป็นตัวของตัวเอง
2.ทํากิจวัตรสําคัญเท่าที่ทําได้
ลดความทุกข์ทรมาน
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป
เศร้าหดหู่ท้อแท้
ระย่อท้อถอย
ความหวาดหวั่นพรั่นกลัว
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย
มีใจปลอดโปร่ง
ปราศจากความทุกข์
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป
อนุสติ สําหรับเตือนใจไม่ให้ประมาท
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
(1) การพยาบาลด้านร่างกาย
ความเบื่ออาหารมีผลดีกว่าผลเสียในผู้ป่วยใกล้ตาย
สารคีโตนในร่างกายเพิ่มขึ้น
รู้สึกสุขสบายขึ้
ะบรรเทาอาการเจ็บปวดได้
ภาวะขาดน้ําในผู้ป่วยใกล้ตาย
รู้สึกเป็นสุข
สุขสบายขึ้น
ปาก และริมฝีปากแห้ง
ใช้สําลีชุบน้ําสะอาดแตะที่ริมฝีปาก
ทาวาสลินหรือสีผึ้ง
จมูกแห้ง
หมั่นทําความสะอาดรักษาความชุ่มชื้น
ดวงตาแห้ง
หยอดตาด้วยน้ําตาเทียม
(2) การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
สิ่งที่คนใกล้ตายกลัวมากที่สุดคือ
การถูกทอดทิ้ง
การอยู่อย่างโดดเดี่ยว
สิ่งที่ต้องการ
ใครสักคนอยู่เป็นเพื่อนข้าง ๆ
จากไปท่ามกลางคนที่รัก
พยาบาลควรให้โอกาสคนใกล้ตายได้แสดงความรู้สึก
อ่านหนังสือธรรมะให้ฟัง
ท่องบทสวดมนต์
2.2 การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพราห์ม-ฮินดู
ศาสนาพราห์ม-ฮินดู
เป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สดในโลกเป็นอันดับที่
เป็นศาสนาหนึ่งในกลุ่มศาสนาของอินเดีย
เป็นการผสมผสานหรือสังเคราะห์มาจาก
วัฒนธรรม
จารีต
ประเพณี
ความเชื่อในศาสนาพราห์ม-ฮินดู
มีปรัชญาหลายแขนงผ่านแนวคิดที่มีร่วมกัน
มีพิธีกรรมที่คล้ายคลึงกัน
จักรวาลวิทยาฮินดู
คัมภีร์ฮินดู
ได้เเก่ ศรุติ สมรติ
ประกอบด้วย
ปรัชญาฮินดู
ประมวลเรื่องปรัมปราฮินดู
พระเวท
โยคะ
พิธีกรรม
อาคม
การสร้างโบสถ์พราหมณ์
เล่มสำคัญได้เเก่
อุปนิษัท
พระเวท
ภควัทคีตา
รามายณะ
อาคม
สถานที่เเสวงบุญ
หลักปฏิบัติของศาสนาพราห์ม-ฮินดู
อาศรม หรือ อาศรมทั้ง 4 ช่วงมีดังนี้
วานปรัชถาศรม
อายุ40-60ปี
สันยัสตาศรม
อายุ60ขึ้นไป
คฤหัสถาศรม
อายุ15-40ปี
พรหมจรยอาศรม
อายุ8-15ปี
เรียกพรหมจารี
โมกษะ คือ
การหลุดพ้นจากการเวียนไหว้ตายเกิด
หลัคำสอน