Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
Drug
ยา
วัตถุที่รับรองในตำรายา
มุ่งหมายใช้ในการ
วินิจฉัย
บำบัด
บรรเทา
รักษา
ป้องกันโรค
ผลิตภัณฑ์
ทำให้เกิดผลกับสุขภาพ
ใช้ในการเกษตร
ใช้ในอาหาร
เครื่องสำอาง
อุปกรณ์เครื่องต่างๆ
การทดลองวิทยาศาสตร์
เภสัชวิทยา
เกี่ยวกับคุณสมบัติของ
และฤทธิ์ที่ส่งผลต่อยา
เภสัชกรรม
ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยา ผสมยา
และการจ่ายยา
ประเภทยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาแผนปัจจุบัน
ยาแผนโบราณ
ยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาใช้ภายนอก
ยาใช้เฉพาะที่
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาบรรจุเสร็จ
ยาสมุนไพร
ยาตามเภสัชตำหรับ
ตำแหน่งการออกฤทธ์ทางกายวิภาค
ประโยชน์ในการรักษา (นิยมใช้มากที่สุด)
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
แหล่งที่มาของยา เภสัชวิทยาของยา
แหล่งกำเนิด
ธรรมชาติ
พืช
โดยตรง
ราก
ใบ
ลำต้น
ผล
เปลือก
สารสกัด
คาเพอีน
มอร์ฟิน
โคเดอิน
สัตว์
ตับ
ตับอ่อน
ดีวัว
ดีหมู
แร่ธาตุ
ไอโอดีน
ทองแดง
น้ำมันเกลือแร่
สารสังเคราะห์
การเลือกชื่อ
ตามสูตรเคมี
ตามลักษณะ ส่วนประกอบทางเคมีของยา
การเรียงตัวของอะตอม
การเรียกชื่อสามัญ
แบ่งตามกลุ่มยา เช่น
ยานอนหลับ
ยาแก้อักเสบ
ยาถ่าย
เรียกตามการค้า
ชื่อที่บริษัทตั้งขึ้น
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ทำละลายในน้ำ
ชนิดรับประทาน ใชภายนอก ใช้เฉพาะที่
ทำละลายในตัวทำลายที่บริสุทธิ์
น้ำปรุง
ยาน้ำใส
ยาน้ำเชื่อม
ยาจิบ
ยากลั้วคอ
ยาอมบ้วนปาก
ยาหยอดจมูก
ยาหยอดหู
ยาสวนล้าง
ยาน้ำสวนทวารหนัก
ตัวทำละลายไม่ใช่น้ำ
ยาอิลิกเชอร์
ยาสปิริริต
ยาโคโลเดียน
ยากลีเซอรีน
ยาถูนวด
ยาป้าย
ยาน้ำกระจายตัว
ยาแขวนตะกอน ต้องเขย่าขวด
เจล
โลชั่น
แมกมา
มิกซ์เจอร์
อิมัลชั่น
ประเภทกึ่งแข็ง
บรรจุในภาชนะชนิดพิเศษ
ขี้ผึ้ง
ครีม
อื่นๆ
ยาฉีด
ไม่ผ่านระบบทางเดินอาหาร มีความบริสุทธิ์สูง
ไม่มีสารพิษ ดูดซึมไม่ได้
ยาทาผิวหนัง
ใช้ทาเฉพาะที่ ยาน้ำใส อิมัลชั่น
ยาน้ำ แขวนตะกอน
ยาพ่นฝอย
หวังผลเฉพาะที่ กระจายเป็นอนุภาคเล็กๆ
ยาดม
กลิ่นหอมระเหย
ประเภทแข็ง
แคปซูล
ยาเม็ด
ยาอมใต้ลิ้น
ยาเม็ดชนิดเคี้ยว
ยาอม
ยาผงเดือดฟู่
ยาเหหน็บ
การออกฤทธิ์ของยาทางเถสัชจลนศาสตร์
เกี่ยวข้องกับการเป็นไปของยาเมื่อยาเข้าสู่ร่างกาย
การดูดซึมของยา
Bioavailability
คือ สัดส่วนยาที่ไม่ได้
ถูกเปลี่ยนแปลงแล้วนำเข้าสู่กระแสเลือด
ปัจจัยตัวยา
ขนาดโมเลกุล
วิธีการผลิต
ขนาดยา
การละลายในไขมัน
ปัจจัยกับผู้ป่วย
1 การบริหารยา
ผ่านทางเดินอาหาร
pH ของ medium
**ข้อเสีย เกิดการทำลายยาที่ตับ ระดับยาในเลือดลดลง
ประสิทธิภาพในการรักษาลดลง
ผ่านหลอดเลือดฝอยใต้ลิ้น
ละลายในไขมันได้ดี เป็นด่าง
ระบบทางเดินหายใจ
อยู่ในรูปก๊าซและของเหลวที่ระเหยได้ดี
ฉีดใต้ผิวหนัง
ดูดซึมในกระแสเลือดได้ดี
ดูดซึมทางผิวหนัง
ละลายได้ในไขมัน
เหน็บบริเวณทวารหนัก/ช่องคลอด
2 การกระจายของตัวยา
โมโลกุลยาถูกกระจายไปยังส่วนใดส่วนหนึ่ง
ของร่างกาย แล้วส่งไปบริเวณออกฤทธิ์
ปัจจัย
ปริมาณการไหลเวียนเลือดหยังดูดซึมยา
คุณสมบัติของยา
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสมา
ความสมารถในการผ่านเข้าสู่สมองและรก
การสะสมของยาในส่วนอื่น
3 การแปรสภาพยา
กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา
ยาบางชนิดยังไม่สามารถออกฤทธิ์ได้
จำเป็นต้องถูกเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
สิ้นสุดการออกฤทธิ์
ช่วยให้ยาละลายน้ำได้ดี มีความเป็นประจุ
ง่ายต่อการขับถ่ายทางไต
เอนไซม์
อยู่ที่ไซโตพลาสซึม
ตับ
ไต
ปอด
ทางเดินอาหาร
พลาสม่า
ปัจจัยต่อ drug metabolism
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
อายุ
ปฎิกิริยาในระหว่างการเกิด metabolism
บางชนิดมีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์
บางชนิดยับยั้งเอนไซม์
4 การขับถ่ายยา
ออกทาง
ไต
ตับ
น้ำดี
ปอด
ความสำคัญ
ค่าครึ่งชีวิต
ทำให้ยาหรือความเข้มข้นยาลดลงเหลือ50%
Loading dose
Onset
ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาเริ่มออกฤทธิ์
Duration of action
ระยะเวลาที่ยาเริ่มออฤทธิ์ที่ต้องการจนถึงหมดฤทธิ์ที่ต้องการ
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์
กลไกการออกฤทธิ์
ไม่จับกับ receptor
Chemical action
Physical action
จับกับ receptor
ตัวรับ
Agonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วสามารถทำให้
เกิดการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Antagonist
สามารถลด/บดบังฤทธิ์ของAgonist
Patial agonist
ออกฤทธิ์เป็นบางส่วน
ความสำคัญ
Affinity
ความสามารถของยาในการจับกับreceptor
Efficacy
ความสมารถของที่ออกฤทธิ์สูงสุด
Partial agonist
ความแรงของฤทธิ์ยา
ระดับความปลอดภัยของยา
therapeutic index
ต่ำ ปลอดถัยต่ำ
สูง ปลอดภัยสูง
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Idiosyncrasy
เกิดจากความแตกต่างในพันธุกรรม
Hyporeactivity
ตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติ ไม่เกิดฤทธิ์รักษา
Hyperactivity
ตอบสนองต่อยามากกว่าปกติ
Hypersensitivity
การแพ้ยา
Tolerance
ดื้อยา
Tachphylaxis
ดื้อยาที่เกิดขึ้นรวดเร็ว
Placebo effect
ฤทธิ์หลอก