Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทาง เภสัชจลนศาสตร์
การกระจายตัวของยา (Drugs distribution)
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
คุณสมบัติทางเคมีละฟิสิกส์ของยาต่ละชนิด
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
การขับถ่ายยา (Drug excretion)
ร่างกายสามารถกำจัดยาออกได้ทางไต ตับ น้ำดี และปอด
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย (Drug absorption)
Bioavailability : สัดส่วนของยาที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลงที่ถูกนำเข้าสู่กระแสเลือด
การดูดซึมยา : อัตราและปริมาณยาที่ถูกนำเข้าสู่กระแสโลหิต
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
ขนาดโมเลกุลของยา
วิธีการผลิตและขึ้นรูปแบบ
ขนาดยาที่ให้ เป็นปัจจัยตัวกำหนดความเข้มข้นของยาบริเวรจุด
คุณสมบัติในการละลายในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
การให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนัง กล้ามเนื้อ หลอดเลือดดำ
การให้ยาดูดซึมผ่านทางผิวหนัง
การให้ยาแบบเหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด
พยาธิสภาพร่างกาย
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วมด้วย
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา(Drug metabolism, Drug biotransformation)
กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา : ยาบางชนิดยังไม่สามารถออกฤทธิ์ได้หลังให้ยา
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา : การแปรสภาพยาช่วยทำให้ยามีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดีขึ้น
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์อาจอยู่ที่ไซโตพลาสซึมของอวัยวะต่างๆ
ในร่ากายมีenzyme หลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนเเปลง
ปฏิกริยาการเปลี่ยนแปลงยา
I. Phase I reaction จะเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของยา
II. Phase II reation ยาหรือmetabolite จาก Phase I ที่ไม่มีความเป็น polar มากพอที่จะถูกขับออกทางไต
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
สิ่งแวดล้อม
อายุ
พันธุกรรม
ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์
ความเจ็บป่วยและความสามารถในการทำงานของตับ
เภสัชจลนศาสตร์เกี่ยวข้องกับการเป็นไปของยาเมื่อเข้าสู่ร่างกาย
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
Loding dose
Onset
ค่าครึ่งชีวิต(Half life ; t 1/2)
Duration of action
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
กลไกการออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
การออกฤทธิ์โดยไม่จับกับreceptor
ออกฤทธิ์โดยจับกับreceptor
Agonist
Antagonist
ตัวรับ (receptor)
Partial agonist
คำสำคัญทาง เภสัชพลศาสตร์
Efficacy
Potency
Affinty
เภสัชพลศาสตร์(Pharmacodynamic)
การจับของยากับreceptor
ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาที่ใช้กับการตอบสนองที่เกิดขึ้นในร่างกาย
ระดับควมปลอดภัยของยา
ยาที่มีค่า therapeutic index ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ
ยาที่มีค่า therapeutic index สูงจะมีความปลอดภัยสูง
TI=LD50/ED50
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Hyperactivity
Hyporeactivity
Hypersensitivity
Tolerance
Idiosyncrasy
Tachyphylaxia
Placebo effect