Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่มุ่งหมาย
การวินิจฉัย
บำบัด
บรรเทา
รักษา
ป้องกันโรค
วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
วัตถุที่มุ่งหมายให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการกระทำหน้าที่ใดๆของมนุษย์หรือสัตว์
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
เภสัชวิทยา
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยาและฤทธิ์หรือผลต่างๆของยาที่มีต่อร่างกาย รวมทั้งผลที่ร่างกายกระทำต่อยา
เภสัชกรรม
ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยา ผสมยา จ่ายยาเพื่อรักษา
ความสำคัญของเภสัชวิทยาต่อวิชาชีพพยาบาล
การให้ยาเป็นหน้าที่สำคัญของพยาบาล และจะต้องตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุด เพราะถ้าหากเกิดความประมาทเลินเล่อของพยาบาล ทำให้ผู้ป่วยได้รับผลที่ไม่พึงประสงค์จากยา พยาบาลจะมีความผิดจากการปฏิบัติวิชาชีพพยาบาล
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาแผนปัจจุบัน
ใช้ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
การประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน
การบำบัดโรคสัตว์
ยาแผนโบราณ
การประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
บำบัดโรคสัตว์
ยาอันตราย
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณ ที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณ ที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาที่ควบคุมพิเศษ
ยาใช้ภายนอก
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณ มีจุดมุ่งหมายใช้ภายนอก ไม่รวมถึงยาใช้เฉพาะที่
ยาใช้เฉพาะที่
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่มุ่งสำหรับใช้เฉพาะที่
ผิวหนัง
หู
ตา
จมูก
ปาก
ช่องคลอด
ท่อปัสสาวะ
ทวารหนัก
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณ ที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน
ยาบรรจุเสร็จ
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่ผลิตขึ้นเสร็จในรูปต่างๆทางเภสัชกรรม
ยาสมุนไพร
สัตว์
แร่
แบ่งตามเภสัชตำรับ
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ออกฤทธิ์ต่อระบบไหลเวียนเลือด
ระบบประสาท
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ประโยชน์ในการรักษา
เป็นวิธีแบ่งประเภทของยาที่นิยมใช้มากที่สุด
แบ่งยาตามกลไกการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ยาแก้ปวดลดไข้
ยารักษามะเร็ง
ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
ยานอนหลับ
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ยาระบายที่ทำให้ลำไส้บีบรัดตัวเพิ่มขึ้น
แหล่งที่มาของยา
ไอโอดีนจากแร่ธาตุ
ยากลุ่มกลัยโคไซด์ที่ได้จากพืช
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากพืช
ยาที่ได้จากส่วนต่างๆของพืชนำมาปรุงเป็นยาโดยไม่เปลี่ยนแปลงรูป
ยาสมุนไพร
มะเกลือใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ
ใบมะขามแขกใช้เป็นนาระบาย
เม็ดพริกไทยใช้เป็นยาขับลม
จากสัตว์
สกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์
ตับ
ตับอ่อน
ดีหมู
ดีวัว
จากแร่ธาตุ
ไอโอดีน
ทองแดง
น้ำมันเกลือแร่
จากการสังเคราะห์
เกลือของเหล็ก ใช้บำรุงโลหิต
อะลูมิเนียมไฮดอกไซด์ ใช้เป็นยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อตามสูตรเคมี
เรียกตามส่วนประกอบทางเคมีของยา
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา
แบ่งเป็นกลุ่มๆ ชื่อยาที่รวมอยู่ในกลุ่มจะมีฤทธิ์เหมือนกัน
เรียกชื่อตามการค้า
ชื่อที่บริษัทผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายยาเป็นผู้ตั้ง
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม (Pharmaceutical preparations)
รูปแบบที่เป็นของแข็ง (solid from)
ยาแคปซูล (Capsule)
มีเจลาตินเป็นปลอกหุ้ม
กลบรสขมของยา
ยาเม็ด (Tablet)
ยาเม็ดเคลือบ
ป้องกันการระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร
ป้องกันการแตกตัวของยาที่กระเพาะอาหาร
ยาเม็ดที่ไม่ได้เคลือบ
ยาอมใต้ลิ้น (Sublingual)
เป็นยาที่ดูดซึมได้ดีในเยื่อบุช่องปาก ออกฤทธิ์เร็ว
ไม่ถูกทำลายโดยกระเพาะอาหาร
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
ยาอม (Lozenge) และโทรเช (Troche)
ใช้อมแก้เจ็บคอ
ยาผงเดือดฟู่ (Effervescent powder)
เป็นยาที่ละลายน้ำได้ง่าย ประกอยด้วย
Sodium bicarbonate
Acetic acid
ยาผง (Pulveres หรือ power)
ยาแก้ท้องอืด
ท้องเฟ้อ
ท้องร่วง
ยาเหน็บ (Suppositories)
ยาที่เตรียมขึ้นเพื่อใช้สอดเข้าไปในช่องเปิด
ช่องคลอด
ทวารหนัก
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ยาน้ำสารละลายที่เป็นตัวทำละลายเป็นน้ำ
น้ำปรุง (Aromatic water)
สาระแหน่
น้ำมันกุหลาบ
น้ำมันดอกส้ม
ยาน้ำใส (Solutions)
แอลกอฮอร์
กลีเซอลีน
ยาน้ำเชื่อม (Syrups)
Paracetamol syrup
ยาจิบ (Linctuses)
Codeine linctus
ยากลั้วคอ (Gargale)
ยาอมบ้วนปาก (Mouthwash)
ใช้ทำความสะอาดดับกลิ่นปาก
ยาหยอดจมูก (Nasal preparations)
ยาหยอดหู (Otic preparations)
ยาสวนล้าง (Irrigation)
ยาน้ำสวนทวารหนัก (Enemas)
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาอิลิกเซอร์ (Elixir)
ยาสปริริต (Spirits)
ยาโคโลเดียน (Collodians)
ยากลีเซอริน (Glycerines)
ยาถูนวด (Liniments)
ยาป้าย (Paints)
ยาน้ำกระจายตัว
เจล (Gels)
โลชั่น (Lotions)
แมกมาและมิลค์ (Magmas and Milk)
อิมัลชั่น (Emulsion)
มิกซ์เจอร์ (Mixtures)
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง (Oiltment)
ครีม (Paste)
ประเภทอื่นๆ
ยาฉีด (Injections)
ยาทาผิวหนัง (Applications)
ยาพ่นฝอย (Spray)
ยาดม (Inhalant)
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย (Drug absorption)
ปัจจัยเกี่ยวข้องกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อนถูกดูดซึมได้ดีใน mediumที่เป็นกรด
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อนถูกดูดซึมได้ดีในmedium ที่เป็นด่าง
ข้อเสีย
1 more item...
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
การให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนัง
การให้ยาดูดซึมผ่านทางผิวหนัง
การให้ยาแบบเหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด
ยาเหน็บชนิดที่ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ยาเหน็บชนิดที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
พยาธิสภาพของร่างกาย
ท้องเสีย
คลื่นไส้อาเจียน
ท้องผูก
โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
การนอนทำให้การเคลื่อนที่ของยาไปยังกระเพาะอาหารช้าลง
การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วมด้วย
ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวยา
ขนาดโมเลกุลของยา
วิธีการผลิตยา
ขนาดยาที่ให้
คุณสมบะติในการละลายไขมัน
การกระจายตัวของยา (Drugs distribution)
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
คุณสมบัติการละลายในไขมัน
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
การรวมของยากับพลาสมาโปรตีนส่งผลลดการกระจายตัวของยา
ความสามารถในการเข้าสมองและรก
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา (Drug metabolism)
การแปรสภาพมีความสำคัญ2ประการ
กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์อาจอยู่ที่ไซโตพลาสซึม
ในร่างกายมีเอนไซม์หลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการแปรสภาพยา
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
อายุ
ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์ (enzyme inducer)
นขณะที่ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์ (enzyme inhibitor)
ความเจ็บป่วยและความสามารถในการทำงานของตับ
การขับถ่ายยา (Drug excretion)
สามารถกำจัดออกได้ทาง
ไต
ตับ
ปอด
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
ค่าครึ่งชีวิต
Loading dose
Onset
Duration of action
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamic)
เกี่ยวข้องกับการออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกาย
กลไกการออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Affinity
Efficacy
Potency
ระดับความปลอดภัยของยา (Therapeutic index;TI)
ยาที่มีค่า therapeutic index ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ
ยาที่ทีค่า therapeutic indexสูงจะมีความปลอดภัยในการใช้สูง
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Idiosyncrasy
การตอบสนองที่ต่างจ่กปกติ ไม่พบในคนส่วนใหญ่
Hyporeactivity
การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติ
Hyperactivity
การตอบสนองต่อยาที่มากกว่าปกติ
Hypersensitivity
การแพ้ยาจากร่างกายมีantibody ที่ต่อต้านต่อโครงสร้างทางโมเลกุลของยาหรือส่วนประกอบของยา
Tolerance
การดื้อหรือทนฤทธิ์ของยา
Tachyphylaxis
การดื้อยาที่เกิดขึ้นได้รวดเร็วเมื่อได้รับยาเพียง2-3ครั้ง
Placebo effect
ฤทธิ์หลอก