Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษา - Coggle Diagram
สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษา
ประเภท
:star:
สื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์
E-Teacher
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การสอน
ฝึกหัดและปฏิบัติ
สถานการณ์จำลอง
เกม
ทดลอง
การเรียนอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Learning
สื่อสารทางเดียว
E-book
ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว
สื่อสารสองทาง
CAI
WBI
E-Training
Learning Object
เนื้อหา
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
วัตถุประสงค์ในการเรียน
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
วารสารอิเล็กทรอนิกส์
กฤตภาคออนไลน์
:pencil2:ข่าวสาร บทความ
ความหมาย
:fire:
ลักษณะที่เป็นสื่อหรือวัสดุ
:pencil2:วัสดุหรือสื่อที่บรรจุเนื้อหา เเบบฝึกหัด และกิจกรรมสำหรับการเรียนการสอนในเนื้อหาหรือสาขาวิชานั้นๆ
:pencil2:เป็นสื่อที่เกิดจากวิวัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศและระบบการสื่อสารโทรคมนาคม
ช่องทางการสื่อสารของมนุษย์ หรือสื่อสังคมออนไลน์
:pencil2:สื่อดิจิทัลที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานในสังคม เพื่อใช้สื่อสารระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม ผ่านทางเว็บไซต์ และโปรเเกรมประยุกต์บนสื่อต่างๆ ที่มีการเชื่อต่ออินเทอร์เน็ต
:pencil2:เน้นให้ผู้ใช้ทั้งผู้ส่งสารเเละผู้รับสารมีส่วนร่วมสร้างสรรค์ผลิตเนื้อหาขึ้นเองในรูปเเบบของข้อมูล ภาพ และเสียง
ข้อดี-ข้อเสีย
:tada:
ข้อดี :check:
ขยายขอบเขตของการเรียนรู้ของผู้เรียนในทุกหนทุกแห่ง
อยู่ที่ไหนก็ทำได้ ไม่เสียเวลาในการเดินทาง
ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนรอบโลก
ในสถานศึกษาต่างๆได้เรียนรู้พร้อมกัน
ผู้เรียนควบคุมการเรียนตามความต้องการ
และความสามารถของตนเองได้
การเรียนรู้มีชีวิตชีวาขึ้นกว่าเดิม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนช่วยเหลือกันในการเรียน เช่น การสื่อสารโดยใช้อีเมล์ กระดานข่าว การพูดคุยสด ฯลฯ
กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักการสื่อสารในสังคม ทำให้เกิดการเรียนแบบร่วมมือ และขยายขอบเขตจากห้องเรียนหนึ่งไปยังห้องเรียนอื่น ๆ ได้โดยการเชื่อมต่อทางอินเทอร์เน็ต
ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนเนื้อหาได้ตามสะดวก
โดยการเรียนด้วยสื่อหลายมิติ
ข้อมูลหลักสูตรและเนื้อหารายวิชาสามารถหาได้โดยง่าย
การเรียนการสอนมีให้เลือกทั้ง2แบบ
:pencil2:1.แบบประสานเวลาคือเรียนและพบกับผู้สอนเพื่อปรึกษาหรือถามปัญหาได้ ในเวลาเดียวกัน (Synchronous)
:pencil2:2.แบบต่างเวลา (Asynchronous) คือเรียนจากเนื้อหาในเว็บและติดต่อ ผู้สอนทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
ส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต
:pencil2:เว็บเป็นแหล่งความรู้ที่เปิดกว้างสามารถเข้ามาค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่อง และตลอดเวลา ตอบสนองต่อผู้เรียนที่มีความใฝ่รู้ รวมทั้งมีทักษะ ในการตรวจสอบการเรียนรู้ด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้เรียนได้ประสบการณ์ของ สถานการณ์จำลอง ในลักษณะที่ใกล้เคียงกับชีวิตจริงได้
:pencil2:สามารถใช้ข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ ภาพ 3 มิติ
ข้อเสีย :red_cross:
มีการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีน้อย ทำให้มีจำนวนและขอบเขตจำกัดที่จะนำมาใช้เรียนในวิชาต่างๆ
ผู้สอนเป็นผู้ออกแบบโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเอง ทำให้เป็นการเพิ่มภาระของผู้สอนให้มีมากยิ่งขึ้น เพราะ ต้องอาศัย เวลา สติปัญญา และความสามารถเป็นอย่างยิ่ง
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนไม่สามารถช่วยในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนได้
:pencil2:เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์เป็นการวางโปรแกรมบทเรียนไว้ล่วงหน้า จึงมีลำดับขั้นตอนในการสอนทุก อย่างตามที่วางไว้แล้ว
เกิดอุปสรรคในการเรียนรู้ได้ เพราะผู้เรียนบางคน อาจจะไม่ชอบโปรแกรมที่เรียงตามขั้นตอน
ลักษณะ
:red_flag:
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจากการวิวัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและระบบการสื่อสารโทรคมนาคม
เป็นสื่อประสมหรือมัลติมีเดีย(Multimedia)หลากหลายรูปแบบตามที่ผู้ผลิตได้สร้างสรรค์และบันทึกไว้ เช่น ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก แผนภูมิ กราฟ วิดีทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว เสียง เป็นต้น