Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
เภสัขภัณฑ์หรือยาเตรียม
รูปแบบกึ่งแข็ง
ยาชนิดนี้มีลักษณะที่ต่างกัน บางชนิดต้องบรรจุในภาชนะพิเศษ บางชนิดมีลักษระพิเศษในการใช้
ขี้ผื้ง
ครีม
รูปแบบที่เป็นของแข็ง
ยาแคปซูล
เป็นยาที่มีเจลลาตินเป็นปลอกหุ้ม เพื่อกลบรสขมของยา
ยาเม็ด
ยาเม็ดเคลือบ
เพื่อใก้ออกฤทธ์ที่ลำไส้ เป็นการป้องกันการแตกตัวของยาที่กระเพาะอาหาร
ยาเม็ดไม่ได้เคลือบ
ยาอมใต้ลิ้น
เป็นยาที่ถูกดูดซึมได้ดีในช่องปาก เข้าสู่กระแสโลหิตได้โดยตรงยาจึงออกฤทธิ์เร็ว
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
จำเป็นต้องเคี้ยว
ยาอม
ใช้อมแก้เจ็บคอ ประกอบด้วยยาฆ่าเชื้อและยาทำลายเชื้อ ผสมน้ำตาลให้มีรสที่น่ารัปประทาน
ยาผง
เพื่อเก็บรักษายาได้นานและกลิ่นรสดีขึ้นมีทั้งชนิดกินและชนิดโรย
ยาเหน็บ
เป็นยาที่ใช้สอดเข้าไปในช่องเปิด
ยาผงเดือดฟู่
เป็นยาที่ละลายน้ำได้ง่าย
ประเภทอื่นๆ
ยาพ่นฝอย
ยาดม
ยาฉีด
ยาทาผิวหนัง
หมายถึง ยาที่ใช้รักษาโรคซึ่งถูกปรุงแต่งเป็น dosage forms ต่างๆ เพื่อความเหมาะสมในการใช้ยาได้สะดวกและได้ผลดีในการรักษาโรค
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ตัวทำละลายไม่ใช่น้ำ
มีทั้งชนิดรับประทานและใช้ภายนอกหรือเฉาพที่
ยาสปริริต
ยากลีเซอริน
ยาถูนวด
ตัวทำละลายเป็นน้ำ
มีทั้งชนิดรับประทานและใช้ภายนอก อยู่ในตัวทำละลายที่เป็นสารบริสุทธิ์
ยาสวนทวารหนัก
ยาหยอดหู
ยาอมบ้วนปาก
ยาน้ำกระจายตัว
ยาที่แขวนตะก่อน ยาชนิดนี้มักมีสารช่วยที่ทำให้ยาแขวนตะกอนอยู่ด้วย เมื่อทิ้งไว้ตัวยาตะตกตะกอน เวลาใช้ต้องเขย่าขวด
เจล
โลชั่น
ข้อดีข้อเสียของการใช้เภสัชภัณฑ์ในวิถีต่างๆ
ยาชนิดรับประทาน
ข้อดี
สะดวก ปลอดภัย ไม่เจ็บ ราคาถูก สามารถใช้ได้ด้วยตนเอง
ข้อเสีย
กลิ่น สี ไม่น่ารัปประทาน
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็ว ไม่ระคายเคืองต่อทางเดินอาหารไม่ถูกทำลายโดยกรด
ข้อเสีย
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย เกิดการทำลายผนังหลอดเลือด หลอดเลือดดำอักเสบ
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี
ดูดซึมช้าๆ เพื่อให้ยาออกฤทธิ์ได้นาน
ข้อเสีย
บริเวณฉีดทำให้เกิดแผลหรือฝีได้ มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ยาฉีดชนิดเข้าขั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี
ยาถูกดูดซึมได้เร็วและเกิดการระคายเคืองน้อยกว่า
ข้อเสีย
การสะสมไว้ที่เนื้อเยื่ออาจทำให้การดูดซึมยาช้าลง
ยาพ่นฝอย ยาสูดดม
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็ว สามารถใช้ได้ด้วยตนเอง
ข้อเสีย
ระคายเคืองเยื่อบุทางเดินหายใจและหลอดลม
ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี
ไม่ถูกทำลายโดยกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ข้อเสีย
รถชาติไม่ดี อาจเกิดการระคายเคืองเยื่อบุปากได้
ยาเหน็บ
ข้อดี
เหมาะกับเด็กที่รับประทานยายาก ออกฤทธิ์เฉาพที่
ข้อเสีย
ราคาแพง ไม่สะดวกต่อการใช้
ความหมายของยา
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ วินิฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค
วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่มุ่งให้เกิดผลแก่สุขภาพ
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
เภสัชวิทยา
ความสำคัญต่อวิชาชีพพยาบาล
พยาบาลต้องอยู่ภายใต้ข้อบังคับที่กฎหมายกำหนดไว้ในที่เกี่ยวข้องกับการให้ยา พยาบาลวิชาชีพ จะสามรถให้ยาแก่ผู้ป่วยเมื่อแพทย์มีคำสั่งการรักษาเป็นลายลักษณ์อักษร
พยาบาลวิชาชีพต้องมีคุณธรรมโดยการตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุดเพื่อให้เกิดผลพึ่งประสงค์แก่ผู้ป่วย
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยาและฤทธิ์หรือผลของยาที่มีต่อร่างกาย
เภสัชกรรม
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยา ผสมยาและจ่ายยาเพื่อรักษา
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาอันตราย
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาที่ควบคุมพิเศษ
ยาแผนโบราณ
ยาที่มุ่งสำหรับใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณกรือบำบัดโรคสัตว์
ยาให้ภายนอก
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่มุ่งสำหรับใช้ภายนอก
ยาแผนปัจจุบัน
ยาที่มุ่งสำหรับใช้ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม การประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน หรือบำบัดโรคสัตว์
ยาใช้เฉพาะที่
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่มุ่งสำหรับใช้เฉพาะผิวหนัง หู ตา จมูก ปาก ช่องคลอด ท่อปัสสาวะ และทวารหนัก
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน
ยาบรรจุเสร็จ
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่ได้ผลิตตขึ้นเสร็จในรูปต่างๆทางเภสัชกรรม บรจุในภาชนะหรือกีบห่อที่ปิดผนึกไว้
ยาสมุนไพร
ยาที่ได้จากพฤกษชาติ สัตว์ แร่ ไม่ได้ปรุงแปรสภาพ
เภสัชตำรับ
ประโยชน์ในการรักษา
ยาแก้ปวดลดไข้
ยารักษามะเร็ง
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ยาระบายหรือยาถ่ายที่ทำให้ลำไส้บีบรัดตัวเพิ่มขึ้น
ยากระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบการไหลเวียนเลือด
ระบบประสาท
แหล่งที่มาของยา
ไอโอดีนจากแร่ธาตุ
ยากลุ่มกลัยโคไซด์ที่ได้จากพืช
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากสัตว์
โดยการสกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์
ดีหมู ดีวัว
ตับ ตับอ่อน
จากแร่ธาตุ
ไอโอดีน
ทองแดง
น้ำมันเกลือเเร่
จากพืช
เป็นยาที่ได้จากส่วนต่างๆของพืชโดยตรง
ใบ ลำต้น
อื่นๆ
ราก
จากการสังเคราะห์
ส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์ โดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมีในห้องปฏิบัติการ
เกลือของเหล็กใช้บำรุงโลหิต
อะลูมิเนียมไฮดอกไซด์ใช้เป็นยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา
แบ่งเป็นกลุ่มๆ ชื่อที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันจะออกฤทธิ์เหมือนกัน
เรียกชื่อตามการค้า
เป็นชื่อที่บริษัทผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายยาเป็นผู้ตั้งและจดทะเบียนไว้กับกระทรวงสาธารณะสุข
เรียกตามสูตรเคมี
เป็นการเรียกตามส่วนประกอบทางเคมีของยาตั้งแต่การเรียงตัวของอะตอมหรือกลุ่มอะตอม
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
ปัจจับที่มีผลต่อตัวยา
ขนาดโมเลกุลของยา
ขนาดยาที่ให้
วิธีการผลิตยาและรูปแบบยา
คุณสมบัติในการละลายไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
พยาธิสภาพของร่างกาย
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วมด้วย
การกระจายตัวของยา
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
คุณสมบัติทางเคมีฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด ยาในรูปแบบของเหลวจะกระจายตัวได้ดีกว่ายาในรูปแบบของแข็ง
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น อาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงต่ออวัยวะที่ยาไปสะสมได้ หรือทำให้ยาออกฤทธิ์ช้ากว่าปกติ
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา
การกระตุ้นของฤทธิ์ยา
ยาบางชนิดไม่สามารถออกฤทธิ์ได้หลังให้ยา จำเป็นต้องถูกเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างทางเคมี
สิ้นสุดการออกของฤทธิ์ยา
การแปรสภาพยาช่วยทำให้ยามีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดีขึ้น
การขับถ่ายยา
การขับถ่ายยาออกจากร่างกาย ร่างกายสามารถกำจัดยาออกได้ทางไต ตับ น้ำดี และปอด อาจจะออกทางน้ำนมและเหลื่อด้วยแต่พบในปริมาณน้อย
คำสำคํญ
คือ เวลาที่ใช้ในการทำยาหรือความเข้มข้นของยาลดลงเหลือ 50เปอร์เซ็นต์ จากความเข้มข้นแรก
Loading dose ขนาดยาที่ให้ครั้งแรกเพื่อให้ถึงระดับยาที่ต้องการในพลาสมา
Onset ระยะเวลาที่เริ่มให้นาจนถึงยาเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการ
Duration of action ระยะเวลาที่เริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการจนถึงหมดฤทธิ์ที่ต้องการ
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Idiosyncrasy เป็นการตอบสนองที่แตกต่างจากปกติไม่เกิดในคนส่วนใหญ่
Hypersensitivity การแพ้ยาจากที่ร่างกายมีแอนติบอดีที่ต่อต้านโครงสร้างทางโมเลกุล
Hyporeactivity การตอบสนองที่น้อยกว่าปกติทำให้ไม่เกิดฤทธิ์รักษา
Hypereactivity การตอบสนองยาที่มากกว่าปกติ
Tolerance เป็นการดื้อหรือทนฤทธิ์ของยา
Tachyphylaxis การดื้อยาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อได้รับยาเพียง 2-3ครั้ง
Placebo effect ฤทธิ์หลอก
สาเหตุการตอบสนองของยา
มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนหรือการทำงานของ receptor
มีความแตกต่างกันในความเข้มข้นของ endogenous receptor ligands
มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
กลไกการออกออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ recepter
ออกฤทธิ์โดยจับกับ recepter
ตัวรับ เป็นองค์ประกอบที่พบได้ที่ผนังเซลล์
Anonist ยาที่จับกับ receptor แล้วสามารถทำให้ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Antangonist ยาที่จับกับ receptor แล้วสามารถลดหรือบดบังฤทธิ์ของ agonist ในการจับกับ receptor
Partial agonist ยาที่จับกับ receptor แล้วออกฤทธิ์เพียงบางส่วน
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy ความสามารถของยาที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
Potency ความแรงของฤทธิ์ยา
Affinity ความสามารถของยาในการเข้าจับกับ receptor
ระดับความปลอดภัยของยา
มักจะทำการทดลองผ่านสัตว์ทดลอง เช่น หนูแรท หรือหนูเมาส์ ระดับความปลอดภัยของยาเป็นสัดส่วนของขนาดยาที่ทำให้หนูตาย 50เปอร์เซ็นต์