Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพโครงสร้างหรือการกระทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์วัตถุตาม (1) (2) หรือ (4)
ไม่หมายความรวมถึง
(ก) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการเกษตรหรือการอุตสาหกรรมตามที่รัฐมนตรีประกาศ
(ข) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้เป็นอาหารสำหรับมนุษย์เครื่องกีฬาเครื่องมือเครื่องใช้ในการส่งเสริมสุขภาพเครื่องสำอางหรือเครื่องมือและส่วนประกอบของเครื่องมือที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะหรือวิชาชีพเวชกรรม
(ค) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในห้องวิทยาศาสตร์สำหรับการวิจัยการวิเคราะห์หรือการชันสูตรโรคซึ่งมิได้กระทำโดยตรงต่อร่างกายของมนุษย์
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
หมายถึง วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยาและฤทธิ์หรือผลต่างๆของยาที่มีต่อร่างกาย
เภสัชกรรม (Pharmacy)
หมายถึง วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยาผสมยาและจ่ายยาเพื่อรักษา
ความสำคัญของเภสัชวิทยาต่อพยาบาล
การให้ยาเป็นหน้าที่สำคัญของพยาบาลนอกเหนือจากความรู้เรื่องยาแล้วพยาบาลต้องมีคุณธรรมโดยการตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุดเพื่อให้เกิดผลที่พึงประสงค์แก่ผู้ป่วย
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาแผนปัจจุบัน
ยาแผนโบราณ
ยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาใช้ภายนอก
ยาใช้เฉพาะที่
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาบรรจุเสร็จ
ยาสมุนไพร
แบ่งตามเภสัชตำหรับ
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ประโยชน์ในการรักษา
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
แหล่งที่มาของยาหรือคุณสมบัติทางเคมี
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากพืช
เป็นยาที่ได้จากส่วนต่างๆของพืชโดยตรง
จากสัตว์
การสกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์
จากแร่ธาตุ
ตัวอย่างยาที่ได้จากแร่ธาตุ
ผงน้ำตาลเกลือแร่ (Oral Rehydrating Salt, ORS) ใช้ในการทดแทนการสูญเสียน้ำและเกลือแร่
ยา Lithium carbonate เป็นยารักษาโรคจิตชนิดคลุ้มคลั่ง
ยาใส่แผลสด Tincture iodine ซึ่งเป็นยาใช้ภายนอก
ยาลดกรดประเภทอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์
จากการสังเคราะห์
ปัจจุบันยาส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์โดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมีในห้องปฏิบัติการ
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อตามสูตรเคมี (Chemical name)
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา (generic name)
เรียกชื่อตามการค้า (trade name)
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
(Pharmaceutical preparations, Pharmaceutical products)
ยารักษาโรคซึ่งถูกปรุงแต่งเป็นรูปแบบ (dosage forms) ต่างๆเพื่อความเหมาะสมในการใช้ยาได้สะดวกและได้ผลดี แบ่งเป็น 4 รูปแบบ
รูปแบบที่เป็นของแข็ง (solid form)
ยาแคปซูล (Capsule)
ยาเม็ด (Tablet)
ยาเม็ดเคลือบ
ยาเม็ดที่ไม่ได้เคลือบ
ยาอมได้ลิ้น (Sublinguat)
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาอม (Lozenge)
ยาผงเดือดฟู่ (Effervescent powder)
ยาผง (Pulveres หรือ power)
ยาเหน็บ (Suppositories)
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยาจิบ (Linctuses)
ยากลั้วคอ (Gargale)
ยาน้ำเชื่อม (Syrups)
ยาอมบ้วนปาก (Mouthwash)
ยาน้ำใส (Solutions)
ยาหยอดจมูก (Nasaloreparations)
ยาหยอดหู (Otic preparations)
ยาสวนล้าง (Irigation)
น้ำปรุง (Aromatic water)
สวนทวารหนัก (Enemas)
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาอิลิกเซอร์ (Elixir)
ยาสปริริต (Spirits)
ยาโคโลเดียน (Collodians)
ยากลีเซอริน (Glycerines)
ยาถูนวด (Liniments )
ยาป้าย (Paints)
ยาน้ำกระจายตัว
หมายถึง ยาน้ำแขวนตะกอน
เจล (Gels)
โลชั่น (Lotions)
แมกมาและมิลค์ (Magmas and Milk)
อิมัลชั่น (Emutsion)
มิกซ์เจอร์ (Mixtures)
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
รูปแบบยาชนิดนี้มัลักษณะต่างๆกันบางชนิดต้องบรรจุในภาชนะพิเศษบางชนิดมีลักษณะพิเศษในการใช้
ขี้ผึ้ง (Otment)
ครีม (Paste)
ประเภทอื่นๆ
ยาฉีด (Injections)
ยาทาผิวหนัง (Applications)
ยาพ่นฝอย (Spray)
ยาดม (Inhalant)
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เกสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetic)
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย (Drug absorption)
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ขนาดโมเลกุลของยา
วิธีการผลิตยา และรูปแบบยา
ขนาดยาที่ให้ (dosage)
คุณสมบัติในการละลายในไขมัน (lipophilic)
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา (routes of administration)
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร (alinentary route. oral route)
pH ของ medium มีผลต่อการดูดซึมยา
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อน (acidic drugs)
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นต่างอ่อน (basic drugs)
ข้อเสียของการให้ยาผ่านทางเดินอาหาร ได้แก่ การเกิด first pass effect
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น(ยาอมใต้ลิ้น: Sublingual. ยาอมในกระทุ้งแก้ม: buccal)
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ (ยาแบบสูดดม: inthatation)
การให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนัง (subcutaneous: SC) กล้ามเนื้อ (muscle, IM) หลอดเลือดดำ (intravenous: IV)
การให้ยาดูดซึมผ่านทางผิวหนัง
การให้ยาแบบเหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด
ยาเหน็บชนิดที่ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ยาเหน็บชนิดที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
พยาธิสภาพของร่างกาย
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
การได้รับอาหารหรือยาขนิดอื่นร่วมด้วย
การกระจายตัวของยา (Drugs distribution)
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า (plasma protein binding)
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก (capitlary permeabitity)
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น(accumมlation at other site)
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา
(Drug metabolism, Drug biotransformation)
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีของยาโดยกระบวนการที่อาศัยเอนไซม์ในร่างกายและมีดับเป็นอวัยวะสำคัญที่เกิดการแปรสภาพยา นอกจากนี้ยังมีอวัยวะอื่นที่เกิดการแปรสภาพยาได้
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์ (enzyme) ที่มีอยู่ในร่างกายจะเป็นตัวช่วยในกระบวนการ drug metabolism
เอนไซม์อาจอยู่ที่ไซโตพลาสซึม (cytoplasm) ของอวัยวะต่างๆ
เอนไซม์ที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงยามือยู่ทั้งภายในเซลล์และภายนอกเซลล์
ในร่างกายมี enzyme หลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการแปรสภาพยา
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยาโดยปกติ
Phase l reaction: enzyme จะเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของยา (drug chernical)
Phase II reaction: ยาหรือ metabolite จาก phase | ที่ไม่มีความเป็น polar มากพอที่จะถูกขับออกทางไตจะต้องถูกทำให้ละลายน้ำได้ดีขึ้นโดยการรวมตัว (conjugation) กับ endogenous Compound ในตับ
ความสำคัญการแปรสภาพยา
กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา (mechanisrm of drug activation)
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา (termination of drug action)
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug rmetabolism
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
อายุ
ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนียวนำเอนไซม์ (enzyme inducer)
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์ (enzyme inhibitor)
การขับถ่ายยา (Drug excretion)
การขับถ่ายยาออกจากร่างกาย (Drug Excretion) ร่างกายสามารถกำจัดยาออกได้ทางไตตับน้ำดีและปอด
อาจถูกกำจัดออกทางน้ำนมและเหงื่อได้ด้วยแต่ในปริมาณที่น้อย
อาจถูกกำจัดออกจากร่างกายทั้งในรูปที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลงหรือถูกเปลี่ยนแปลงก็ได้
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
ค่าครึ่งชีวิต (Half ife) คือเวลาที่ใช้ในการทำให้ยาหรือความเข้มข้นของยาลดลงเหลือ 50%
Loading dose ขนาดยาที่ให้ครั้งแรกเพื่อให้ถึงระดับยาที่ต้องการในพลาสมา
Onset ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการ
Duration of action ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการจนถึงหมดฤทธิ์ที่ต้องการ
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamic)
เภสัชพลศาสตร์เกี่ยวข้องกับการออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกาย
การจับของยากับ receptor (drug-receptor Concept)
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาที่ใช้กับการตอบสนองที่เกิดขึ้นในร่างกาย (dose response relationship)
กลไกการออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
Chermical action
Physical action
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
ตัวรับ (Receptor)
เป็นองค์ประกอบของเซลล์ซึ่งอาจพบได้ที่ผนังเซลล์ cytoplasm หรือนิวเคลียส (nucleus) ของเซลล์
receptor มีคุณสมบัติที่จะจดจำ (recognize) และจับกับสารที่มีลักษณะโครงสร้างจำเพาะเจาะจงแล้วทำให้การทำงานของเซลล์นั้นๆเปลี่ยนแปลง
ในร่างกายมี receptor endogenous substrates เกือบทุกชนิด
Agonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วสามารถทำให้เกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Antagonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วสามารถลดหรือบดบังฤทธิ์ของ agonist ในการจับกับ receptor
Partial agonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วออกฤทธิ์เพียงบางส่วน
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Affinity
ความสามารถของยาในการเข้าจับกับ receptor
Efficacy
ความสามารถของยาที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุดซึ่ง Maximum effect ของยา
potency
ความแรงของฤทธิ์ยา
ระดับความปลอดภัยของยา (Therapeutic index; TI)
การหาระดับความปลอดภัยของยามักจะทำการทดลองผ่านสัตว์ทดลองเช่นหนูแรทหรือหนูเมาส์ระดับความปลอดภัยของยาเป็นสัดส่วนของขนาดยาที่ทำให้หนูตาย 50% ต่อขนาดยาที่ได้ผลในการรักษา 50%
ยาที่มีค่า therapeutic index ตำจะมีความปลอดภัยต่ำ
ยาที่มีค่า therapeutic index สูงจะมีความปลอดภัยในการใช้สูง
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
ldiosyncrasy
การตอบสนองที่แตกต่างจากปกติที่ไม่พบเกิดในคนส่วนใหญ่
Hyporeactivity
การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติทำให้ไม่เกิดฤทธิ์รักษา
Hyperactivity
การตอบสนองต่อยาที่มากกว่าปกติ
Hypersensitivity หรือ Allergic reaction
การแพ้ยาจากที่ร่างกายมี antibody (Ab) ที่ต่อต้านต่อโครงสร้างทางโมเลกุล (structure) ของยา
Tolerance
เป็นการดื้อหรือทนฤทธิ์ของยาซึ่งเกิดจากการได้รับยาชนิดนั้นหลายครั้งทำให้มีการตอบสนองต่อยาในครั้งหลังๆลดลง
Tachyphylaxis
การดื้อยาที่เกิดขึ้นได้รวดเร็วเมื่อได้รับยาเพียง 2-3 ครั้ง
Placebo effect
ฤทธิ์หลอก