Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน (Health out comes and unit cost) - Coggle…
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน
(Health out comes and unit cost)
สภาวะสุขภาพ
“สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช่เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น”
คำถามที่ต้องการคำตอบ
QUITY
เป็นธรรมหรือไม่
FFICIENCY
คุ้มกับต้นทุน
หรือไม่
FFECTIVENESS
ได้ผลในทางปฏิบัติหรือไม่
FFICACY
ดีจริงหรือไม่
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต่ำที่สุด
"ความคุ้มค่า" (Cost effectiveness)
สร้างผลผลิตตามชนิดและปริมาณที่คนทั้งหลายให้คุณค่าสูงที่สุด
"ประสิทธิภาพในการจัดสรร" (Allocative efficiency)
ไม่ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลืง
"ประสิทธฺภาพเชิงเทคนิค" (Technical efficiency)
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร ์
Outcomes in economic evaluation
การประเมินทางเศษฐศาสตร์เป็นการประเมินระหว่าง
ต้นทุนและผลลัพธ์
การวัดผลทางสุขภาพมีความสำคัญในการประเมินทางเศษฐศาสตร์
อะไรถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดของการวัดผลทางสุขภาพ
Health status evaluation
การวัดผลลัพธ์ในรูปของสภาวะสุขภาพ มีความซับซ้อนมากกว่า
โครงการต่างและบริการทางการแพทย์มีความแตกต่างกันที่จุดมุ่งหมายและวิธีการ ถึงแม้ว่าจะมีจุดมุ่งหมายให้ผู้ป่วยมีสุขภาพดี
Measuring health and Valuing health
Health outcomes
Measuring health
การวัดผลลัพธ์ทางสุขภาพสามารถวัดได้หลากหลาย โดยเน้นที่การดูการเปลี่ยนแปลงทางสุขภาพ
Valuing health
การให้ค่าสุขภาพ เป็นอีกทางเลืกหนึ่ง โดยการหาอัตรา “Weight” ผลลัพธ์ต้องระบุความพึงพอใจ
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก
(Clinical outcome type)
ผลลัพธ์ในรูปแบบของภาวะสุขภาพ ไม่ได้จำกัดแค่ประโยชน์ทางที่ได้รับ แต่ยังรวมไปถึงอาการที่ไม่ประสงค์
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ
(Health care cost)
ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
ประเภทของการศึกษาต้นทุน (Unit cost analysis type)
มุมมองต้นทุน
ประโยชน์ของการศึกษาต้นทุน
วงการผลิตและการบริโภคด้านสุขภาพ
ปัจจัยนำเข้าการผลิตบริการสุขภาพ
ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน (คน อุปกรณ์ วิธีการ)
ต้นทุนที่อยู่ในรูปของตัวเงิน (งบประมาณด้านการจัดบริการสุขภาพ)
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนแปรผัน
ต้นทุนรวม
ต้นทุนคงที่
ต้นทุนเฉลี่ย
ผลผลิต (Output)
บริการ IPD
จำนวนวันนอนผู็ป่วยใน
การเรียนการสอน
จำนวนนักศึกษา
บริการ OPD
จำนวนครั้งของการบริการ
งานวิจัย
จำนวนวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแผ่
Cost Centre Approach
ใช้ระบบบัญชีดั้งเดิม (Traditional cost accounting method) มีความเรียนง่าย ความเที่ยงตรง และตรวจสอบได้งาย
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน: Cost Centre Approach
จัดหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน (Cost Centre Identification & Grouping)
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน (Direct Cost Determination)
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม (Allocation criteria)
หาต้นทุนรวมทั้งหมด (Full Cost Determination)
หาต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost)
ต้นทุนค่าลงทุน
อายุการใช้งานเกินกว่า 1 ปี หรือมีมูลค่าเกินจ านวนที่ก าหนด
อาคารและสิ่งปลูกสร้าง
ยานพาหนะ : รถยนต์, มอเตอร์ไซด์, รถฉุกเฉิน, ฯลฯ.
Activity Approach
(Activity based costing: ABC)
กิจกรรม คือ การกระทำที่เปลี่ยนทรัพยากรของกิจการออกมาเป็นผลผลิตได้ ดังนั้น การบัญชีต้นทุนกิจกรรมนอกจากเน้นการระบุกิจกรรมของกิจการแล้วยังพยายามระบุต้นทุนของกิจกรรม เพื่อใช้ในการคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์และเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
เปรียบเทียบระหว่างการคำนวณต้นทุน
Cost Centre Approach
กลุ่มต้นทุนตามหน่วยงาน
ผลผลิต (Outcomes)
Activity Approach
กลุ่มต้นทุนตามกิจกรรม
ผลผลิต (Outcomes)
ปัจจัยที่ส่งผลวิเคราะห์ต้นทุนแตกต่างกัน
• แหล่งข้อมูลที่ต่างกันส่งผลให้ได้ข้อมูลต้นทุนแตกต่างกัน
• วิธีการวิเคราะห์ต่างกัน ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
• การวิเคราะห์ต้นทุนมุมมองต่างกัน
• การการกระจายต้นทุนต่างกัน
• การใช้ข้อมูลและเวลาที่ต่างกัน