Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
เภสัชจลนศาสตร์(Pharmacokinetic)
ร่างกายจัดการอย่างไรกับยาที่ได้รับ
3การแปลสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา(Drug metabolism)
กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา
ยาบางชนิดยังไม่สามารถออกฤทธิ์ได้หลังให้ยาจำเป็นต้องถูกเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีก่อนจึงจะสามารถออกฤทธิ์ในร่างกายได้
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
การแปรสภาพยาช่วยทำให้ยามีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดีขึ้นเพื่อง่ายต่อการขับออกทางไต
ปฏิกิริยาระหว่างยาระหว่างการเกิดmetabolism
1.ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนียวนำเอนไซม์(enzyme inducer)ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงยาแล้วทำไรอย่างอื่นอย่างรวดเร็วและมากขึ้น
2.ในขณะที่ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์(enzyme inhibitor) ทำให้ยาชนิดอื่นที่ให้ร่วมถูกแปรสภาพได้ช้าทำให้ยาอื่นที่ให้ร่วมด้วยมีอะไรยะเวลาการออกฤทธิ์นานขึ้น
การขับถ่ายยา(Drug excrerion)
ร่างกายสามารถกำจัดย้ายออกได้ทานไต ตับ น้ำดีและปอดยาบางยังขับได้ถ่ายอุจจาระทานน้ำนมและทางปอดได้
การกระจายตัวของยา(Drugs distribution)
ปริมาณการไหลของเลือดไปยังอวัยวะนั้นนั้นหลังจากยาถูกดูดซึมแล้วอยากจะไปสู่อวัยวะที่มีปริมาณการไหลเวียนของเลือดสูงได้อย่างรวดเร็ว
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย(Drug absorption)
Bioavailability หมายถึงสัดส่วนของยาที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลงที่ถูกนำเข้าสู่กระแสเลือด
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
ขนาดโมเลกุลของยา
วิธีการผลิตยา
ขนาดยาที่ให้
คุณสมบัติในการละลายในไขมัน
การดูดซึมยาหมายถึงอัตราและปริมาณยาที่ถูกนำเข้าสู่กระแสโลหิต
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นด่างเช่นลำไส้เล็ก
ยาที่มีสมบัติเป็นกรดเช่นกระเพาะอาหาร
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้นการให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
การให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนัง(Bioavailability100%)
ความสามารถในการดูดซึมยาเข้าสู่กระแสเลือด
พยาธิสภาพของร่างกาย
เช่นท้องเสียคลื่นไส้มีผลการดูดซึมของยาผ่านทางเดินอาหารได้
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
Loading dose ขนาดยาที่ให้ครั้งแรกเพื่อให้ถึงระดับยาที่ต้องการในพลาสม่าคือการให้ยาในขนาดสูงอย่างรวดเร็ว
Onset ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการ
ค่าครึ่งชีวิต(Half life;t1/2)คือเวลาที่ใช้ในการทำให้ยาหรือความเข้มข้นของยาลดลงเหลือ 50%
Duration of action ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์ที่ที่ต้องการจนถึงหมดฤทธิ์ที่ต้องการ
เภสัชพลศาสตร์(Pharmacodynamic)
การออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกาย
กลไกการออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ออกฤทธิ์จับกับreceptor
2.)Agonist หมายถึงยาที่จับกับreceptor แล้วสามารถทำให้เกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
3.)Antagonist ยาที่จับกับreceptorแล้วสามารถลดหรือบดบังฤทธิ์ของagonist
1.)ตัวรับ receptor การจับของยากับreceptor receptorเป็นองค์ประกอบของเซลล์ซึ่งอาจพบได้ที่ผนังเซลล์หรือนิวเคลียสโดยreceptorร์มีคุณสมบัติจะจดจำและจับกับสารที่มีโครงสร้างจำเพาะเจาะจงแล้วทำให้การทำงานของเซลล์นั้นเปลี่ยนแปลง เพื่อให้การทำงานของร่างกายดำเนินไปได้อย่างปกติ
4.)Partial agonist หมายถึง หมายถึงยาที่จับกับ receptorแล้วออกฤทธิ์เพียงบางส่วน
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับreceptor
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy หมายถึงความสามารถของยาที่ทำให้เกิดลิสต์สูงสุด
Potency หมายถึงความแรงของฤทธิ์ยา
Affinity หมายถึงความสามารถของยาในการเข้าจับกับreceptor
ระดับความปลอดภัย(Therapeutic index;TI)
ยาที่มีค่าTIต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ
ยาที่มีค่าTIสูงจะมีความปลอดภัยในการใช้สูง
การหาระดับความปลอดภัยของยาTI=LD50/ED50
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Hypersensitivity การแพ้ยาจากที่ร่างกายมี antibody ที่ต่อต้านต่อโครงสร้างทางโมเลกุล ทำให้เกิดอาการจากปฎิกริยาภูมิแพ้
Tolerance เป็นการดื้อหรือทนฤทธิ์ของยาซึ่งเกิดจากการได้รับยาชนิดนั้นหลายครั้ง
Hyperactivity การตอบสนองต่อยาที่มีมากกว่าปกติเช่นการให้ยานอนหลับผู้ป่วยบางคนจะไม่หลับในขณะที่ผู้ป่วยบางคนหลับได้นานกว่าปกติ
Tachyphylaxic การดื้อยาที่เกิดขึ้นได้รวดเร็วเมื่อได้รับยาเพียง 2-3 ครั้ง
Hyporeactivity การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติทำให้ไม่เกิดฤทธิ์รักษา
Placebo effect ฤทธิ์หลอก
Idiosyncrasy มักจะเกิดจากความแตกต่างทางพันธุกรรมในการเปลี่ยนแปลงยา