Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ประเภทของยา
แบ่งตามเภสัชตำหรับ
ประโชน์ในการรักษา เป็นวอธีแบ่งประเภทของยาที่นิยมใช่กันมากที่สุด
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค เช่นยาออกฤทธิ์ต่อระบบไหลเวียนเลือดระบบประสาท ระบบทางเดินปัสสาวะ
แหล่งที่มาของยา หรือคุณสมบัติทางเคมีและเภสัชวิทยาของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาใช่ภายนอก -เป็นยาที่มุ่งสำหรับใช่ภายนอกทั้งนี้ไม่รวมถึงยาใช่เฉพาะทาง
ยาใช่เฉพาะที่ -คือยาที่ใช่เฉพาะที่เช่นผิวหนัง ตา หู จมูก ปาก ฯ
ยาอันตราย - เป็นยาที่รัฐมนตรีประกาศว่าเป็นยาอันตราย
ยาสามัญประจำบ้าน -เป็นยาที่รัฐมนตรีประกาศว่าเป็นยาสามัญประจำบ้าน
ยาแผนโบราณ -ใช่สำหรับในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
ยาบรรจุเสร็จ-ยาซึ่งได้บรรจุในภาชนะหรือหีบห่อที่ปิดหรือผลึกไว้ และมีฉลากครบถ้วน
ยาควบคุมพิเศษ -เป็นยาที่รัฐมนตรีประกาศว่าเป็นยาที่ควบคุมพิเศษ
ยาสมุนไร -ยาที่ได้จากพฤกษชาติ สัตว์ หรือแร่ ซึ่งไม่มีการปรุงแต่งหรือแปรสภาพ
ยาแผนปัจจุบัน-ใช่สำหรับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
การเรียกชื่อยา
2 เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา -แบ่งเป็นกลุ่มๆ ยาที่ออกฤทธิ์เหมือนกันจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกัน
3 เรียกชื่อตามการค้า -เป็นชื่อที่บริษัทผู้ผลิตเป็นผู้ตั้งและขอจดทะเบียนไว้กับกระทรวงสาธารณะสุข
1 เรียกชื่อตามสูตรเคมี - ยาทุกตัวจำเป็นต้องมีชื่อยาท่งเคมี 1ตัวยาต่อ1ชื่อ โดยเรีกตามองค์ประกอบทางเคมีของยานั้น
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากสัตว์ -โดยการสกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์ เช่นยาอินซูลินสกัดมาจากตับอ่อนของวัว
จากแร่ธาตุ -เช่นไอโอดีน ทองแดง น้ำมันเกลือแร่
จากพืช -เป็นยาที่ได้จากส่วนต่างๆของพืชโดยตรง นำมาปรุงเป็นยาโดยไม่แปรรูปเรียกว่าสมุนไพร
แต่ถ้านำสารที่อยู่ในพืชสกัดออกมาทำให้บริสุทธิ์ เรียกว่าสารสกัดบริสุทธิ์ สามารถกำหนดขนาดในการรักษาได้
จากการสังเคราะห์
ปัจจุบันยาส่วนใหญ่มาจากการสังเคราะห์โดยอาศัยปฎิกิริยาทางเคมีในห้องปฏิบัติการ
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
รูปแบบที่เป็นของแข็ง
ยาอมใต้ลิ้น
เป็นยาที่ถูกดูดซึมได้ดีในเยื่อบุช่องปาก
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
เป้นยาที่ต้องเคี้ยวยก่อนจึงจะออกฤทธิ์ได้ดี
ยาเม็ด - เป็นยาผงแห้งที่อัดเม็ด
ยาเม็ดเคลือบ
ยาเม็ดที่ไม่ได้เคลือบ
ยาอม
ส่วนใหญ่ใช่อมแก้เจ็บคอ
ยาเหน็บ
เป็นยาที่เตรียมขึ้นเพื่อใช้สอดเข้าไปในช่องเปิด
ยาผง
เป็นรูปของยาผสมที่เป็นผงเพื่อเก็บยาได้นานและกลิ่นรสดีขึ้น
ยาแคปซูล
เป็นยาที่มีเจลตินเป็นปลอกหุ้ม เพื่อกลบรสขมของยา
ยาผงเดือดฟู่
เป็นยาที่ละลายน้ำได้ง่าย
ประเภทของเหลวแบ่งได้2 ประเภทใหญ่ๆ
ยาน้ำสารละลายน้ำ
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยาหยอดหู
ยาสวนล้าง
ยาหยอดจมูก
ยาน้ำสวนทวารหนัก
ยาอมบ้วนปาก
ยาน้ำเชื่อม
ยาจิบ
ยาน้ำใส
ยากลั้วคอ
น้ำปรุง
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช่น้ำ
ยาโคโลเดียน
ยากลีเซอริน
ยาสปริริต
ยาถูนวด
ยาอิลิกเซอร์
ยาป้าย
ยาน้ำกระจายตัว
โลชั่น
แมกมาและมิลค์
เจล
มิกซ์เจอร์
อิมัลชั่น
รูปแบบประเภทกึ่งของแข็ง
ขี้ผึ้ง
ครีม
ประเภทอื่นๆเช่น
ยาทาผิวหนัง
ยาพ่นฝอย
ยาฉีด
ยาดม
ข้อดีข้อเสียในการให้เภสัชภัณฑ์ในวิธีต่างๆ
ยาชนิดฉีดเข้าเส้นเลือดดำ
ข้อดี- ออกฤทธิ์เร็ว ไม่ระคายเคืองต่อทางเดินอาหาร ใช้ในรายที่หมดสติหรืออาเจียนได้
ข้อเสีย- เกิดพิษง่ายรวดเร็วและรุนแรงถึงชีวิต ยามีราคาแพง มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ยาชนิดรับประทาน
ข้อดี-สะดวก ไม่เจ็บสามารถให้ได้ด้วยตัวเอง
ข้อเสีย-ไม่เหมาะกับยาที่ดูดซึมผ่านระบบทางเดินอาหารช้า กลิ่น สีอาจไม่ชวนรับประทาน
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี-การดูดซึมเป็นไปอย่างช้า ให้ยาออกฤทธิ์นานพอสมควร
ข้อเสีย-สามารถให้ยาได้ไม่เกิน 2มิลลิลิตร ยามีราคาแพง บริเวณที่ฉีดทำให้เกิดแผฃหรือฝีได้
ยาชนืดฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี -ยาดูดซึมได้เร็วและเกิดการระคายเคืองน้อยกว่าการฉีดเข้าผิวหนัง
ข้อเสีย -สามารถให้ยาได้ไม่เกิน 5 มิลลิลิตร การสะสมยาไว้ที่เนื่อเยื่อนานอาจทำให้เกิดการดูดซึมช้าลง
ยาพ่นฝอย
ข้อดี -ยาออกฤทธิ์เร็ว และสามารถให้ยาได้ด้วยตนเอง ยาจะออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย- วิธีการให้ยาไม่สะดวก ปริมาณยาไม่แน่นอน
ยาเหน็บ
ข้อดี -เหมาะกับเด็กหรือผู้ที่รับประทานยายาก ออกฤทธอ์เฉพาะที่และทั่วร่างกาย
ข้อเสีย - ไม่สะดวกต่อการใช่ราคาแพง
ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี -ยา๔ูกดูดซึมและออกฤทธิ์ได้เร็วโดยไม่ผ่านตับ ไม่ถูกทำลายโดยกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ข้อเสีย -ยาบางชนิดรสชาติไม่ดี ใช่เวลานาน ไม่สะดวกในการพูด
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนสาสตร์
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวยา
วิธีการผลิตยาและรูปแบบยา
ขนาดยาที่ให้
ขนาดโมเลกุลของยา
คุณสมบัติในการละลายไขมัน
ปัจจัยที่เกี่ยวกับผู้ป่วย
พยาธิสภาพของร่างกาย
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
วิธีการบริหารยา
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
ถูกดูดซึมได้ดีเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดได้ง่ายและรวดเร็ว
การให้ยาโดยฉีดใต้ผิวหนัง กล้ามเนื้อ หลอดเลือดดำ
วิธีนี้ยาจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้ 100%
การให้ยาผ่านทางหลอดเลือดฝอยบริเณใต้ลิ้น
ยาที่ละลายได้ดีในไขมัน มีคุณสมบัติเป็นด่าง
การให้ยาดูดซึมผ่านทางผิวหนัง
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อน
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อน
การให้ยาแบบเหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด
-ยาเหน็บชนิดที่ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ยาเหน็บชนิดที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วมด้วย
การกระจายตัวของยา
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์อาจอยู่ที่ไซโตพลาสซึมของอวัยวะต่างๆ เช่นตับ ไต ปอด ทางเดินอาหาร พลาสม่า
ในร่างกายมีเอนไซม์หลายชนืดที่เกี่ยวข้องกับการแปรสภาพยา
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยาแบ่งได้ 2 ขั้นตอน
Phase l reaction : เอนไซม์จะเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของยา
Phase ll reaction : รับยามาจาก Phase l เพื่อมาทำเป็น Polarเพื่อจะขับออกทางไต
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
สิ่งแวดล้อม
คนที่สูบบุหรี่จะมีการ metabolized ยาได้เร็วกว่าคนที่ไม่สูบบุหรี่
อายุ
เด็กและผู้สูงอายุจะไวต่อฤทธิ์และพิษของยามากกว่าผู้ใหญ่
พันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมมีผลกระทบต่อระดับเอนไซม์
ปฏิกิริยาระหว่างยาในการเกิด Metabolism
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์ คือยาบางชนิดสามารถเพิ่มการสังเคราะห์ enzyme cytochrome P450-dependent drugs-oxidizing ในตับได้
ในขณะที่ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์ ยาที่มีคุณสมบัติยับยังเอนไซม์เช่น Cimetidine
การขับถ่ายยา
การขับถ่ายยาออกจากร่างกายร่างกายสามารถกำจัดยาออกได้ทางตับ ไต น้ำดี ปอด และที่อื่นๆ
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
Loading dose
Onset
ค่าครึ่งชีวิต (half life)
Duration of action
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์
Agonist - ยาที่จับกับ Recepter แล้วสามารถทำให้เกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Antagonist - ยาที่จับกับ Recepter แล้วสามารถลดฤทธิ์ของ angonist ในการจับกับ recepter
ตัวรับ receptor -มีคุณสมบัติจดจำและจับกับสารที่มีลักษณะโครงสร้างเจาะจง
partial -ยาที่จับกับ recepter แล้วออกฤทธิ์แค่บางส่วน
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy
Affinity
Potency
ระดับความปลอดภัยของยา
ยาที่มีค่า therapeuticindex ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ เช่น litium,digoxin
ยาที่มีค่า therapeuticindex สูงจะมีความปลอดภัยในการใช้สูง
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Hypersensitivity -อาการแพ้ยาจากที่ร่างกายมี Antibody ที่ต่อต้าน
Tolerance เป็นการดื้อหรือทนฤทธิ์ของยา
Hyperactivity -การตอบสนองต่อยาที่มากกว่าปกติ
Tachyphylaxis การดื้อยาที่เกิดดขึ้นรวดเร็ว
Hyporeactivity -การตอบสนองน้อยกว่าคนปกติ
Placebo effect ฤทธิ์หลอก
indiosyncrasy -การตอบสนองที่แตกต่างจากปกติที่ไม่เกิดในคนส่วนใหญ่