Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
วัตถุที่ได้รับการรับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
ใช้ในการวิจัย บำบัด บรรเทา รักษา ป้องกันโรคหรือความเจ็บปวด
ประเภทของยา
การรักษาโรคปัจจุบัน
ยาใช้ภายนอก
ยาใช้เฉพาะที่
มุ่งใช้เฉพาะกับผิวหนัง
ยาควบคุมพิเศษ
ควบคุมการใช้
ใช้ตามแพทย์สั่ง
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ
ยาที่ผลิดขึ้นเสร็จบรรจุในภาชนะ หีบห่อปิด หรือ ผนึกไว้
มีฉลากครบถ้วน
ยาแผนโบราณ
กลุ่มยาสมุนไพร
ยาสมุนไพร
ยาแผนปัจจุบัน
แบ่งตามเภสัชตำรับ
ประโยชน์ในการรักษา
ดูกลไกของยาเป็นหลัก
การแบ่งประเภทที่นิยมใช้มากที่สุด
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ยาระบาย ยาถ่าย
ยากระตุ้นระบบประสาท
ตำแหน่งการออกฤทธฺ์
ต่อระบบต่างๆ
เช่น ยาออกฤกธฺ์ต่อระบบไหลเวียนเลือด
แหล่งที่มาของยา
แร่ธาตุ
พืช
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากพืช
ได้จากส่วนต่างๆของพืช
ราก ใบ ลำต้น ผล เมลล็ด เปลือก
ยาสมุนไพร
สารสกัดจากพืช
สารสกัดบริสุทธิ์
เช่น คาเฟอีน ได้จากใบชาและเมล็ดกาแฟ
จากแร่ธาตุ
ไอโอดีน ทองแดง น้ำมันเกลือแร่
เช่น ยาใส่แผลสด Tincture iodine
จากสัตว์
สกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์
เช่น ยาอินซูลิน สกัดมาจากตับอ่อนของวัว
จากการสังเคราะห์
อาศัยปฏิกิริยาทางเคมี
เช่น เกลือของเหล็ก บำรุงโลหิต , อะลูมิเนียมไฮดอกไซด์ ใช้เป็นยาลดกรด
การเรียกชื่อยา
ตามสูตรเคมี (chemical name)
ตามส่วนประกอบของสารเคมี
ตามการเรียงตัวของอะตอม กลุ่มอะตอม
ตามสามัญทางยา/ชื่อตัวยา (generic name)
แบ่งเป็นกลุ่มๆ
เช่น กลุ่มยาแก้ปวด ยาลดไข้ ยานอนหลับ ยาแก้อักเสบ
ตามการค้า (trade name)
ตามชื่อบริษัทผู้ผลิตตั้ง / ตัวแทนจำหน่ายยา
เช่น ยาในกลุ่ม acetaminophen ชื่อทางการค้า เช่น Sara tylenol เป็นต้น
เภสัชภัณฑ์/ยาเตรียม
ประเภทของแข็ง (solid form)
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
เคี้ยวก่อนถึงจะออกฤทธิ์
เช่น ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
ยาอม (Lozenge)/โทรเช (Troche)
ใช้อมแก้เจ็บคอ รสหวาน
ประกอบด้วยยาฆ่าเชื้อ และ ยาทำละลายเชื้อ
ยาอมใต้ลิ้น (Sublingual)
ไม่ถูกทำลายโดยกระเพาะ
ออกฤทธิ์เร็ว ดูดซึมได้ดี เข้าสู่กระแสเลือดโดยตรง
ยาผงเดือดฟู่ (Effervescent powder)
ละลายน้ำได้ง่าย
ยาเม็ด (tablet)
แบบเคลือบ
ไม่เคลือบ
ยาผง (Pulveres / power)
ยาผสมเก็บได้นาน
มีทั้งชนิดกินและโรยแผล
เช่น ยาแก้ท้องอืด ท้องร่วง
ยาแคปซูล(Capsule)
มีเจลาตินห่อหุ้ม กลบรสขม
เช่น Ampicillin Amoxycillin
ยาเหน็บ (Suppositories)
ออกฤทธิ์บรเวณที่เหน็บ
ละลายเมื่อสอดเข้าไปในร่างกาาย
ประเภทของเหลว
ยาน้ำละลาย
ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยากลั้วคอ (Gargale)
มีฤทธิ์ต้านการฆ่าเชื้อ
ยาอมบ้วนปาก (Mouthwash)
ระงับกลิ่นปาก ระงับเชื้อ
ยาชา ยาสมานเนื้อเยื่อ
ยาจิบ (Linctuses)
สารละลายน้ำใส หนืดเล็กน้อย
ยาระงับการไอ ขับเสมหะ
ยาหยอดจมูก (Nasal preparations)
ยาน้ำเชื่อม (syrups)
สารละลายเข้มข้นของน้ำตาล/สารแทนน้ำตาล
ให้ความหวาน มีกลิ่น สีสวย สำหรับเด็ก
ยาสวนล้าง (Irrigation)
ยาน้ำใส (Solution)
ละลายในน้ำบริสุทธิ์ / ของเหลวชนิดอื่น
เช่น แอลกอฮอล์ กลีเซอรีน
ยาน้ำสวนทวารหนัก (Enemas)
น้ำปรุง (Aromatic water)
สารละลายใส
เช่น สาระแหน่ น้ำมันกุหลาบ สารระเหย
ยาหยอดหู (Otic preparations)
ตัวทำละลายไม่ใช่น้ำ
ยาโคโลเนียน
เป็นยาน้ำ ข้น เหนียว
ใช้ทาบาดแผล ยาที่มีฤทธิ์ลอกผิวหนัง
ยากลีเซอรีน
เหนียว ข้น กึ่งแข็ง
มักใช้หยอดหู ยาอมบ้วนปาก ทำให้ผิวหนังนุ่ม
ยาสปริริต
เป็นแอลกอฮอล์ 60% ขึ้นไป
พวกน้ำมันหอมระเหย ยาดม
ยาถูนวด
ยาอิลิกเซอร์
เป็นแอลกอฮอล์ 3-44%
มีกลิ่นหอม รสหวาน
ยาป้าย
ต้านการติดเชื้อ ระงับปวด
น้ำยากระจายตัว
แมกมาและมิลค์ (Magmas and milk)
มิกซ์เจอร์ (Mixtures)
โลชั่น (Lotions)
อิมัลชั่น (Emulsion)
เจล (Gels)
รูปแบบกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง (Oiltment)
ครีม (Paste)
ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนัง (Applications)
ยาพ่นฝอย (Spray)
ยาฉีด (Injections)
เป็นยาแขวนตะกอนชนิดไร้เชื้อ
ห้ามฉีดเข้าหลอดเลือดดำ / ช่องไขสันหลัง
ยาดม (Inhalant)
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetic)
การดูซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
การที่ยาเข้าสู่กระแสเลือด
Bioavailability
สัดส่วนของยาที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลงที่เข้าสู่กระแสเลือด
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึม
ขนาดโมเลกุลของยา
วิธีการผลิตยา รูปแบบยา
ขนาดยาที่ให้
คุณสมบัติในการละลาย ในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
เป็นกรดอ่อน
กระเพาะอาหาร
เช่น แอสไพริน
เป็นด่างอ่อน
เช่น มอร์ฟิน
ลำไส้เล็ก
ให้ยาดูดซึมผ่านทางหลอดเลือดฝอย
ยาอมใต้ลิ้น , ยาอมในกระพุ้งแก้ม
ละลายในไขมันได้ดี เป็นด่าง
ผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
ในรูปแบบของแก๊สและของเหลวที่ระเหยได้
การฉีดใต้ผิวหนัง
หลอดเลือดดำ > กล้ามเนื้อ > ใต้ผิวหนัง
ดูดซึมเข้ากระแสเลือด ได100%
การให้ยาเหน็บ
ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
พยาธิสภาพของร่างกาย
อารมณ์ของผู้รับยา
การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วม
การกระจายตัวของยา (Drugs distribution)
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสมา
จับมากกระจายตัวน้อย
จับน้อยรวมตัวน้อย มีการกระจายตัวมาก
ความสามารถในการป่านสมองและรก
คุณสมบัติของยา
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
ปริมาณการไหลเวียนเลือดไปยังอวัยวะ
การแปลสภาพยา หรือ การเปลี่ยนแปลงยา
กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา
ถูกเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของยา
เช่น Levodopa จะถูก metabolite เป็นโดปามีน
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
สิ่งแวดล้อม
อายุ
พันธุกรรม
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนแปลงยา
ที่อยู่ในไซโตพลาสซึม เช่น ตับ ปอด ทางเดินอาหาร พลาสมา
เช่น flavoprotein
ปฏิกิริยาระหว่างการเกิด metabolism
ยาที่เพิ่มการสังเคราะห์ enzyme cytochrome P450-dependent
การเปลี่ยนแปลงยาลดลง
ทำลายยาอื่นอย่างรวดเร็ว
ยาที่ยับยั้งการทำงานenzyme cytochrome P450
ระดับยาในรา่งกายเพิ่มขึ้น
ยาออกฤทธิ์นาน แปรสภาพช้า
การขับถ่ายยา
ทางน้ำนม เหงื่อได้ แต่เล็กน้อย
กำจัดออกทางไต ตับ น้ำดี ปอด
สารที่เป็น polar compound จะถูกกำจัดได้ดีกว่าสารที่เป็น high lipid solubility
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamic)
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
ออกฤทธิ์โดยกับ receptor
ตัวรับ (Receptor)
จดจำและจับกับสารที่มีโครงสร้างจำเพาะ
การทำงานของเซลล์นั้นเปลี่ยนแปลง
Agonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วออกฤทธิ์ ทำให้เกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Antagonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วไม่เห็นผล หรือไม่ออกฤทธิ์
Partial agonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วออกฤทธิ์บางส่วน