Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
วัตถุที่ที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
เภสัชวิทยา
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยาและฤทธิ์หรือผลต่างๆของยาที่มีต่อร่างกาย รวมทั้งผลที่ร่างกายกระทำต่อยาด้วย
เภสัชกรรม
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยา ผสมยาและจ่ายยาเพื่อรักษา
ความสำคัญของเภสัชวิทยาต่อวิชาชีพพยาบาล
พยาบาลต้องอยู่ภายใต้ข้อบังคับที่กฎหมายกำหนดไว้ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการให้ยา
พยาบาลวิชาชีพจะสามารถให้ยาแก่ผู้ป่วยได้เมื่อมีคำสั่งการรักษษลายลักษณ์อักษรเท่านั้น
พยาบาลต้องมีคุณธรรมโดยการตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุด
นักศึกษาพยาบาลจะให้ยาแก่ผู้ป่วยได้ก็ต่อเมื่ออยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของพยาบาลวิชาชีพที่เป็นอาจารย์พยาบาลหรือพยาบาลประจำการตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเท่านั้น
ประเภทของยา
1.ยารักปัจจุบันษาโรค
6.ยาใช้เฉพาะที่
7.ยาสามัญประจำบ้าน
5.ยาใช้ภายนอก
4.ยาควบคุมพิเศษ
3.ยาอันตราย
8.ยาบรรจุเสร็จ
2.ยาแผนโบราณ
9.ยาสมุนไพร
1.ยาแผนปัจจุบัน
2.แบ่งตามเภสัชตำรับ
2.ประโยชน์ในการรักษา
3.กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
1.ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
4.แหล่งที่มาของยา
แหล่งกำเนิดยา
1.จากธรรมชาติ
1.2จากสัตว์
1.3จากแร่ธาตุ
1.1 จากพืช
2.จากการสังเคราะห์
ส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์
โดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมีในห้องปฏิบัติการ
การเรียกชื่อยา
2.เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา
3.เรียกชื่อตามการค้า
1.เรียกชื่อตามสูตรเคมี
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
2.ประเภทของเหลว
2.1 ยาน้ำสารละลาย
2.1.1 ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยาอมบ้วนปาก
ยาหยอดจมูก
ยากลั้วคอ
ยาหยอดหู
ยาจิบ
ยาสวนล้าง
ยาน้ำเชื่อม
ยาน้ำสวนทวารหนัก
ยาน้ำใส
น้ำปรุง
2.2 ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาโคโลเดียน
ยากลีเซอริน
ยาสปริริต
ยาถูนวด
ยาอิลิกเซอร์
ยาป้าย
2.ยาน้ำกระจายตัว
แมกมาและมิลค์
มิกซ์เจอร์
โลชั่น
อิมัลชั่น
เจล
1.รูปแบบที่เป็นของแข็ง
1.4 ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
1.5ยาอมและโทรเช
1.3 ยาอมใต้ลิ้น
1.6ยาผงเดือดฟู่
1.2ยาเม็ด
1.2.1 ยาเม็ดเคลือบ
1.2.2 ยาเม็ดที่ไม่ได้เคลือบ
1.7 ยาผง
1.1ยาแคปซูล
1.8 ยาเหน็บ
4.ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนัง
ยาพ่นฝอย
ยาฉีด
ห้ามฉีดเข้าหลอดเลือดดำหรือช่องไขสันหลัง
ยาดม
3.รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง
ครีม
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
2.การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
1.ตัวรับ (Receptor)
2.Agonist
กลไกการออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
Chemical action
Physical action
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
3.Antagonist
2.1 เภสัชพลศาสตร์
การจับของยากับreceptor
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาที่ใช้กับการตอบสนองที่เกิดขึ้นในร่างกาย
4.Partial agonist
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy
Potency
Affinity
3.ระดับความปลอดภัยของยา
การหาระดับความปลอดภัยของยามักจะทำการทดลองผ่านสัตว์ทดลอง
1.การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
1.1เภสัชจลนศาสตร์
1.1.2การกระจายตัวของยา
3.การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
4.ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
2.คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
5.การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
1.1.3 การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา
1.1.3.2 ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
2.สิ่งแวดล้อม
3.อายุ
1.พันธุกรรม
1.1.3.3 ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
2.ในขณะที่ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์
3.ความเจ็บป่วยและความสามารถในการทำงานของตับ
1.ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์
1.1.3.1 เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์
เอนไซม์อาจอยู่ที่ไซโตพลาสซึม
ในร่างกายมี enzyme หลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการแปรสภาพยา
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยา
Phase I reaction
Phase II reaction
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
1.กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา
1.1.1 การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
การดูดซึมยา
อัตรา
ปริมาณ
Bioavailability
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
2.วิธีการผลิตยา
3.ขนาดยาที่ให้
1.ขนาดโมเลกุลของยา
4.คุณสมบัติในการละลายยา
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
2.พยาธิสภาพของร่างกาย
3.สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
1.วิธีการบริหารยา
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
การให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนัง
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
การให้ยาเหน็บทวารหนัก
หรือช่องคลอด
ยาเหน็บชนิดออกฤทธิ์เฉพาะที่
ยาเหน็บชนิดออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อน
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อน
การให้ยาดูดซึมผ่านทางผิวหนัง
4.การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วมด้วย
1.1.4 การขับถ่ายยา
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
Loading dose
Onset
ค่าครึ่งชีวิต Half life
Duration of action
4.การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
4.4Hypersensitivity
4.5Tolerance
4.3Hyperaactivity
4.6Tachyphylaxis
4.2Hyporeactivity
4.7Placebo effect
4.1 Idiosyncrasy