Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
แบ่งเป็น 4 รูปแบบ
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยาน้ำเชื่อม
ยาจิบ
ยาน้ำใส
ยากลั้วคอ
น้ำปรุง
ยาหยอดหู
ยาหยอดจมูก
ยาสวนล้าง
ยาอมบ้วนปาก
ยาน้ำสวนทวารหนัก
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นไม่ใช่น้ำ
Spirits
Collodians
Elixir
Glycerines
Liniments
Paints
ยาน้ำกระจายตัว
Magmas and milk
Mixtures
โลชั่น
Emuision
เจล
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง
ครีม
รูปแบบที่เป็นของแข็ง
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
เคี้ยวก่อนกลืน เพื่อให้ยาแตกตัวก่อน ส่วนมากเป็นยาลดกรดในกระเพาะ
ยาอมใต้ลิ้น
เป็นการให้ยาถูกดูดซึมได้เร็ว และออกฤทธิ์เร็ว
ยาอม
ใช้อมแก้เจ็บคอ จะมียาฆ่าเชืื้อ และน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ
ยาผงเดือดฟู่
เป็ยยาที่ละลายน้ำได้ง่าย เช่นเกลือแร่
ยาเม็ด
ยาเม็ดเคลือบ
ยาเม็ดไม่ได้เคลือบ
ยาผง
เพื่อเก็บยาได้นาน เป็นแบบผสม
ยาแคปซุล
มีเจลาตินเป็นเปลือกหุ้ม เพื่อกลบรส กลิ่นของยา
ยาเหน็บ
ใช้เหน็บเฉพาะที่
ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนังง
ยาพ่นฝอย
ยาฉีด
ยาดม
เป็นยาที่ถูกปรุงแต่งรูปแบบเพื่อให้มีความเหมาสม และใช้งานสะดวก
การเรียกชื่อยา
3 กลุ่ม
การเรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา (generic name)
มีการแบ่งกลุ่ม และเรียกชื่อยาที่รวมอยู่ในกลุ่มจะมีฤทธิ์เหมือนกัน
การเรียกชื่อตากการค้า (trade name)
การตั้งชื่อยาให้ดูน่าสนใจ จำง่าย ติดหู
การเรียกชื่อตามสูตรเคมี (chemical name)
เรียกตามส่วนประกอบทางเคมี การเรียงตัวของอะตอม
การอออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
Pharmacokinetic
Drug absorption
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
ขนาดของยา
วิธีการผลิตยา และรูปแบบของยา
ขนาดยาที่ให้
การละลายของยาในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
การให้ยาดูดซึมผ่านระบบทางเดินหายใจ
การให้ยาเหน็บทางช่องคลอดหรือทวารหนัก
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดใต้ลิ้น
การให้ยาดูดซึมทางผิวหนัง
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
การให้ยาโดยหารฉีดใต้ผิวหนัง
Drugs distribution
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ความสามารถในการผ่่านเข้าสมองและรก
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
การสะสมของยาที่ส่วนอื่นๆ
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะต่างๆ
Drug excretion
กาารขับถ่ายยาออกจากร่างกาย
ร่างกายจะกำจัดยาออกได้ทางไต ตับ น้ำดี และปอด และอวัยวะหลักในการกำจัดยา คือ ไต
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
Loadding dose
การให้อยาครั้งแรกให้ถึงระดับยาที่ต้องการในพลาสม่า
Onset
ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาเริ่มออกฤทธิ์
Half-life
การให้ยาลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง
Duration of action
ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์จนถึงยาหมดฤทธิ์
Drug metabolism
การแปรสภาพยา มี 2 ประการ
การกระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์อาจอยู่ที่ไซโทพลาสซึมของอวัยวะต่างๆ
ร่างกายมีเอนไซม์หลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการแปลสภาพยา
เช่น
Flavoprotein
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยา 2 ขั้นตอน
Phase l reaction
Phase ll reaction
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
สิ่งแวดล้อม
อายุ
พันธุกรรม
ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
Enzyme inducer
หากให้ยาร่วมกับยาชนิดอื่นจะทำให้ยาชนิดอื่นมีประสิทธิภาพลดลง
Enzyme inhibitor
หากให้ยาร่วมกับยาชนิดอื่นจะทำให้มีการยับยั้งยาชนิดอื่น ให้ถูกแปรสภาพช้าลง
ประเภทของยา
มี 2 แบบ
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาใช้ภายนอก
ยาที่ใช้สำหรับภายนอก เช่น ยานวด
ยาใช้เฉพาะที่
เป็นยาที่มีผลเฉพาะที่ เช่น ผิวหนัง ตา หู ปาก
ยาควบคุมพิเศษ
ยาแผนปัจจุบันที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาที่ควบคุมพิเศษในการใช้
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาแผนปัจจุบันที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย
ยาแผนปัจจุบันที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ
เป็นยาที่บรรจุ ห่อใส่ภาชนะ และมีฉลากครบถ้าน
ยาแผนโบราณ
ยาที่อยู่ในตำรายาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศให้ได้รับอนุญาติให้ขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ
ยาสมุนไพร
ยาที่มีส่วนผสมของสมุนไพรต่างๆ
ยาแผนปัจจุบัน
ใช้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม การบำบัดโรคสัตว์
แบ่งตามเภสัชตำรับ
ประโยชน์ในการรักษา
กลไกหาารออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
แหล่งที่มาของยา
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากสัตว์
สกัดอินซูลินมาจากตับอ่อนของวัว
จากแร่ธาตุ
ไอโอดีน
ทองแดง
น้ำมันเกลือแร่
จากพืช
ราก ใบ ลำต้น ผล เมล็ด เปลือก เป็นยาสมุนไพร
จากกาารสังเคราะห์
ส่วนใหญ่ได้จากกาารสังเคราะห์ โดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี
อลูมิเนียมไฮดอกไซต์
ใช้เป็นยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
เกลือของเหล็ก
ใช้บำรุงโลหิต
การให้เภสัชภัณฑ์ในวิถีทางต่างๆ
ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี
ดูดซึมและออกฤทธิ์เร็ว
ข้อเสีย
รถชาติไม่ดี
ยาเหน็บ
ข้อดี
ออกฤทธิ์เฉพาะที่และทั่วร่างกาย
ข้อเสีย
ไม่สะดวกต่อการใช้งาน ราคาแพง
ยาชนิดรับประทาน
ข้อดี
สะดวก ปลอดภัย ราคาถูก
ข้อเสีย
อาจจะระคายเคืองได้ และยาถูกทำลายโดยน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็ว
ข้อเสีย
เกิดพิษง่าย และมีราคาแพง
ยาฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี
ดูดซึมช้า ออกฤทธิ์นาน
ข้อเสีย
มีโอกาสติดเชื้อง่าย ราคาแพง
ยาชนิดฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี
ดูดซึมเร็ว ละลายในไขมันได้
ข้อเสีย
ยามีการสะสมที่เนื้อเยื่อ และมีการดูดซึมช้าลง
ยาพ่นฝอย
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็ว ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย
ให้ยาไม่สะดวก
ความหมายของยา
ตามพระราชบัญญัติยา พุทธศักราช 2510
ใช้สำหรับการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค ของมนุษย์และสัตว์
ใช้เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป ที่ไม่ใช่ใช้ในการเกษตรหรืออุสาหกรรม
วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
ใช้ให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างร่างกายของมนุษย์และสัตว์
การอออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
Pharmacodynamic
กลไกลการออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
การออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ recepter
Chemical action
Physical action
การออกฤทธิ์โดยจับกับ recepter
Recepter
เป็นองค์ประกอบของเซลล์อาจพบได้ที่ผนัง cytoplasm or nucleus โดยจะจำและจับกับสารที่มีโครงสร้าที่เข้ากันได้
Agonist
ยาที่จับกับ recepter แล้วออกฤทธิ์
Antagonist
ยาที่จับกับ recepter แล้วยับยั้งการออกฤทธิ์ของ agonist ในการจับกับ Recepter
Partial agonist
ยาที่จับกับ recepter แล้วออกฤทธิ์เพียงบางส่วน
ระดับความปลอดภัยของยา
ยาที่มีค่า thearpeutic index ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ
ยาที่มีค่า thearpeutic index สูงจะมีความปลอดภัยในการใช้สูง
การแแปลผกผันการตอบสนองของยา
Hyperactivity
การต่อบสนองต่อยามากกว่าปกติ
Hypersensitivity
การแพ้ยา
Hyporeactivity
การต่อบสนองต่อยาน้อยกว่าปกติ
Tolerance
การดื้อยา
ldiosyncrosy
ไม่พบเกิดในคน
Tachyphylaxis
การดื้อยา 2-3 ครั้ง
Placebo effect
ฤทธิ์หลอก