Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ IUGR
ภาวะทารกตัวเล็ก หรือ Small for gestational age (SGA) หมายถึง การทีทารกมีน ้าหนักที่ต่ำกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10 เมื่อเทียบกับประชากรในกลุ่มเดียวกัน ณ อายุครรภ์นั้นๆ
การจำแนก
Symmetrical IUGRทารกในกลุ่มนี้จะมีอัตราการเจริญเติบโตที่ช้าในทุกอวัยวะ
Asymmetrical IUGRทารกในกลุ่มนี้จะมีขนาดเล็กในทุกระบบอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะที่ปกติหรือมีผลกระทบน้อยกว่าส่วนอื่นๆ
Combined type หมายถึง ทารกที่มีการเจริญเติบโตช้าแบบผสมผสาน
สาเหตุ
สาเหตุจากมารดา
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์, น้ำหนักที่ขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์
ปัญหาเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร,ภาวะโภชนาการ,
การใช้สารเสพติดต่างๆ
สาเหตุจากตัวทารก
สาเหตุจากรก
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย (Physical examination)
การตรวจโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound) โดยทำทุก 3-4 สัปดาห์
การวินิจฉัยหลังคลอด
แนวทางการดูแลรักษา
• Screening for risk factors สตรีตั้งครรภ์ทุกราย
• การซักประวัติ เพื่อดูการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ผ่านมา
• ควรมีการตรวจวัด fundal height (FH) ทุกครั้งที่มาท าการฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ขึ้นไป
• การตรวจติดตาม ultrasonography เพื่อประเมินอัตราการเจริญเติบโตของทารก
• การดูปริมาณน้ำคร่ำ
• การ surveillance เช่น NST หรือ BPP
ภาวะคลอดยาก(Obstructed labor)
คลอดเนิ่นนาน(Prolonged labor)
สาเหตุ
สาเหตุมาจากสุขภาพจิตของผู้คลอด
สาเหตุมาจากแรงบีบตัวของมดลูก
สาเหตุมาจากช่องทางคลอดที่ผิดปกติ
สาเหตุมาจากตัวทารก น้ำคร่ำ และรก
สาเหตุมาจาก ภาวะสุขภาพร่างกายของผู้คลอด
สาเหตุมาจากท่าของผู้คลอด
ประเภท
ความผิดปกติของการคลอดในระยะที่ 2 ของการคลอด
Arrest of descent
Failure of descent
ความผิดปกติของการคลอดเนื่องจากปากมดลูกเปิดขยายช้ากว่าปกติหรือส่วนนำเคลื่อนต่ำลงช้ากว่าปกติในระยะ active phase
การผิดปกติของการคลอดในระยะ latent phase
การพยาบาล
การพยาบาลในระยะคลอด
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูกให้เป็นไปตามการหดรัดตัวในภาวะปกติ
ควรประเมินช่องทางคลอดร่วมกับการประเมินระดับส่วนนำของทารกและระดับของทารก
ถ้ามดลูกหดรัดตัวถี่และแรงเกินไปถ้าให้ Oxytocin เร่งการคลอดควรลดจำนวนหยดลงโดยดูผลของเสียงการเต้นของหัวใจทารกร่วมด้วย
ควรกระตุ้นให้ขับถ่ายและควรสวนทิ้งถ้าปัสสาวะเองไม่ได้
ให้ยาลดความเจ็บปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลสารน้ำสารอาหารให้ผู้คลอดได้รับอย่างเพียงพอ
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินสภาวะของทารกในครรภ์ทุก 30 นาที –1ชั่วโมง
การพยาบาลระยะหลังคลอด
ดูแลกระเพาะปัสสาวะและบริเวณแผลฝีเย็บ
ดูการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
ให้ความอบอุ่นร่างกายผู้คลอด
ให้ผู้คลอดได้รับการพักผ่อน
Uterine rupture
สาเหตุ
มดลูกแตกเอง (Spontaneous of the intact uterus)พบได้ในผู้ตั้งครรภ์หลัง อายุมาก ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
มดลูกแตกจากการได้รับการกระทบกระเทือน (Traumatic rupture of the intact uterus) เกิดจากการทำสูติศาสตร์หัตถการ ได้แก่ การคลอดด้วยคีม ทำคลอดท่าก้น
มดลูกแตกจากรอยแผลเดิม (Rupture previous uterine scar) เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หมายถึง การฉีกขาดหรือทะลุของมดลูกขณะตั้งครรภ์ ขณะเจ็บครรภ์คลอดหรือขณะคลอด
อาการและอาการแสดงก่อนมดลูกแตก
ปวดท้องอย่างรุนเเรง คลำพบส่วนเด็กชัดเจน
FHS ของทารกเปลี่ยนแปลงหรือหายไป
คลำพบรอยแยก
มี Hypovolemic shock
ลักษณะมดลูกแตก
มดลูกแตกหมด (Complete rupture) แตกทะลุชั้น Peritoneum
มดลูกไม่แตกไม่ตลอด (Incomplete rupture) รอยแตกไม่ทะลุชั้น Peritoneum ชั้นนอกมดลูก ยังคลุมตัวทารกอยู่
มดลูกปริ (Dehiscence) จะพบแต่เลือดออกทางช่องคลอดเท่านั้น
การพยาบาล
หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงควรแนะนำให้ฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอและแนะนำให้มาคลอดที่โรงพยาบาล
หญิงตั้งครรภ์ที่เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ควรแนะนำให้คุมกำเนิดและเว้นระยะของการตั้งครรภ์อย่างน้อย 2 ปี และถ้าอายุครรภ์มากกว่า 36 สัปดาห์ส่งพบแพทย์เพื่อนัดวันคลอด
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิดให้การดูแลด้านจิตใจแก่มารดาหลังคลอด และครอบครัวในรายที่สูญเสียบุตร
ในกรณีที่มีการตั้งครรภ์ผิดปกติหรือมีภาวะแทรกซ้อนของกาตั้งครรภ์ เช่น ท่าขวาง เด็กหัวบาตร การคลอดล่าช้า เคยผ่าตัดที่มดลูก เคยได้รับการทำสูติศาสตร์หัตการ ควรรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาผ่าตัดทำคลอด
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือดปอด (Amniotic fluid embolism)
หมายถึง ภาวะที่มีน้ำคร่ำพลัดเข้าไปในกระเเสเลือดทางมารดา ส่วนประกอบของน้ำคร่ำมีผลทำให้เกิดภาวะล้มเหลวของการทำงานระบบไหลเวียนเลือด หัวใจและระบบหายใจ
อาการและอาการแสดง
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด(pulmonary edema)
มีอาการหนาวสั่น(Chill)
เหงื่อออกมาก(Diaphoresis)
คลื่นไส้วิตกกังวลและพักได้น้อย
หายใจลำบาก (dyspnea) เกิดการหายใจ
ล้มเหลว ทันทีทันใดและมีการเขียวตามใบหน้าและตามตัว (cyanosis)
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ(cadiovascula collapse)
ความดันเลือดต่ำลงมาก (hypotension)
การพยาบาล
ควรตระหนักถึง ปัจจัยที่ก้อให้เกิดภาวะน้ำคร่ำ
อุดกั้นทางเดินของปอด เช่นการให้ยาเร่งคลอด การเจ็บครรภ์คลอดที่รุนแรง ซึ่งมักจะพบได้ในระยะของการคลอดและทันทีหลังคลอด
ให้ออกซิเจนผ่านทาง bag หรือ mask หรือทาง
Endotrachial tube
ให้ยาและเลือดตามแผนการรักษา
จัดท่าผู้คลอดนอนในท่า Fowler’s position
ช่วยเหลือการคลอดโดยใช้ Forceps หรือ ผ่าท้องทำคลอด
ระวังภาวะตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากภาวะ
กลไกการแข็งตัวของเลือดสูญเสียไป
ควรส่งผู้คลอดไปดูแลต่อที่หอผู้ป่วยหนัก โดย
การใช้เครื่องช่วยหายใจใน 2-3 วันแรก เพื่อดูแลระบบหายใจและระบบไหลเวียนของโลหิต
ถ้าผู้คลอดและบุตรเสียชีวิต ควรดูแลและให้
กำลังใจกับครอบครัวผู้คลอด