Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
2.วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค
3.วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์
1.วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
4.วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแห่สุขภาพ
เภสัชวิทยา(Pharmacology) หมายถึงวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยาและฤทธิ์หรือผลต่างๆของยาที่มีต่อร่างกาย
เภสัชกรรม(Pharmacy) หมายถึงวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยา ผสมยา และจ่ายยาเพื่อรักษา
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
สัตว์ (ตับ ตับอ่อน ดีหมู ดีวัว)
เช่น ยาอินซูลินสกัดจากตับอ่อนของวัว
แร่ธาตุ (ไอโอดีน ทองแดง น้ำมันเกลือแร่)
พืช (ราก ใบ ลำต้น ผล เมล็ด เปลือก) เรียกว่ายาสมุนไพร
จากการสังเคราะห์
ส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์
เช่นเกลือของเหล็กใช้บำรุงโลหิต
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาใช้เฉพาะที่
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาใช้ภายนอก
ยาบรรจุเสร็จ ผลิตขึ้นเสร็จในรูปต่างทางเภสัชกรรม
ยาควบคุมพิเศษ
ยาสมุนไพร ยาที่ได้จากพฤกษชาติ สัตว์ หรือแร่ มิได้ปรุงหรือแปรสภาพ
ยาอันตราย
ยาแผนโบราณ ใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือบำบัดโรคสัตว์
ยาแผนปัจจุบัน ใช้ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
แบ่งตามเภสัชตำรับ
ประโยชน์ในการรักษา
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
แหล่งที่มาของยาหรือคุณสมบัติทางเคมีและเภสัชวิทยาของยา
ข้อเสียของการใช้เภสัชภัณฑ์ในวิถีทางต่างๆ
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
เกิดพิษง่ายรวดเร็วและรุนแรงถึงชีวิต ติดเชื้อได้ง่าย อาจทำให้เกิดหัวใจล้มเหลว
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ให้ยาได้ไม่เกิน2มิลลิลิตร บางชนิดระคายเคือง ติดเชื้อได้ง่าย
ยาชนิดรับประทาน
ไม่เหมาะกับยาที่ดูดซึม ยาอาจระคายเคืองกระเพาะอาหาร ห้ามใช้ในผู้ป่วยหมดสติ
ยาชนิดฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ดูดซึมยาช้า
ยาพ่นฝอย
อาจระคายเคืองเยื่อบุทางเดินหายใจ อาจเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ยาอมใต้ลิ้น
รสชาติไม่ดี ใช้เวลานาน
ยาเหน็บ
อาจเกิดการติดเชื้อภายในของอวัยวะสืบพันธุ์ได้
ข้อดีของการใช้เภสัชภัณฑ์ในวิถีทางต่างๆ
ยาชนิดฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ยาถูกดูดซึมได้เร็วและเกิดการระคายเคืองน้อยกว่าการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ยาพ่นฝอย
ยาออกฤทธิ์เร็ว ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
การดูดซึมเป็นไปอย่างช้า ออกฤทธิ์ได้นานพอสมควร
ยาอมใต้ลิ้น
ยาถูกดูดซึมและออกฤทธิ์ได้เร็วโดยไม่ผ่านตับ
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ออกฤทธิ์เร็ว ไม่ถูกทำลายโดยกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ยาเหน็บ
ออกฤทธิ์เฉพาะที่และทั่วร่างกาย รักษาอาการติดเชื้อ
ยาชนิดรับประทาน
สะดวก ปลอดภัย ไม่เจ็บ หากเกิดอันตรายอาการจะไม่รุนแรงและเร็วเท่ายาฉีด
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยาน้ำใส (Solutions) เป็นยาละลายน้ำใส มักเป็นสารที่ไม่ระเหย
ยาน้ำเชื่อม (Syrups) เป็นสารละลายเข้มข้นของน้ำตาลเหมาะสำหรับเด็ก
น้ำปรุง (Aromatic water) เป็นสารละลายใสและอิ่มตัวของน้ำมันระเหยง่าย
ยาจิบ (Linctuses) ประกอบด้วยตัวยาที่ใช้ระงับการไอ
ยากลั้วคอ (Gargale) ใช้ป้องกันหรือรักษาอาการติดเชื้อในลำคอ
ยาอมบ้วนปาก (Mouthwash)
ยาหยอดจมูก (Nasal perparations)
ยาหยอดหู (Otic preparations)
ยาส่วนล้าง (Irrigation)
ยาน้ำสวนทวารหนัก (Enemas)
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาโคโลเดียน (Collodians) หรือยากัด มีฤทธิ์โรคผิวหนัง ใช้รักษาตาปลาหรือหูด
ยากรีเซอรีน (Glycerines) โดยน้ำหนักใช้เป็นยาหยอดหูยาอมบ้วนปาก
ยาสปริริต (Spirits) เช่น การบูร
ยาถูหนวด (Liniments)
ยาอิลิกเซอร์ (Elixir) ใช้เป็นยารับประทานเท่านั้น
ยาป้าย (Paints) ตัวยาที่มีฤทธิ์ต้านการติดเชื้อสมานแผล
ยาน้ำกระจายตัว หมายถึงยาน้ำแขวนตะกอน
แมกมาและมิลค์ (Magmas and Milk) เช่นยาระบายแมกนีเซีย
มิกซ์เจอร์ (Mixtures) เป็นยาน้ำผสม
โลชั่น (Lotions) เช่นคาลาไมน์ โลชั่น
อิมัลชั่น (Emulsion) เช่น ยาระบายพารัฟฟิน น้ำมันละหุ่ง อิมัลชั่น
เจล (Gels) เช่น Alum milk
รูปแบบที่เป็นของแข็ง (solid form)
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาอม (Lozenge) ใช้อมแก้เจ็บคอ
ยาอมใต้ลิ้น (Sublingual)
ยาผงเดือดฟู่ (Effervescent powder)
ยาเม็ด (Tablet)
ยาเม็ดเคลือบ ให้ออกฤทธิ์ที่ลำไส้
ยาเม็ดที่ไม่ได้เคลือบ
ยาผง (Pulveres หรือ Power)
เช่น เกลือแร่
ยาแคปซูล (Capsule) เป็นยาที่มีเจลาตินเป็นปลอกหุ้ม
ยาเหน็บ (Suppositories)
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง (Oiltment) มีลักษณะเป็นน้ำมัน
ครีม (Paste) เป็นยาน้ำแขวนตะกอนที่มีความข้นมาก เพื่อบรรเทาอาการ
ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนัง (Applications) ใช้ทาเฉพาะที่
ยาพ่นฝอย (Spray) มักใช้ประกอบกับเครื่องพ่น
ยาฉีด (Injections) การให้โดยไม่ผ่าน ระบบทางเดินอาหาร ยาน้ำใส ห้ามฉีดเข้าหลอดเลือดดำหรือช่องไขสันหลัง
ยาดม (Inhalant) ใช้สูดดมเพื่อบรรเทาอาการวิงเวียนต่างๆ