Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่มุ่งหมายใช้สำหรับการวินิจฉัย การบำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคของมนุษย์หรือสัตว์
วัตถุที่เป็นเภสัชภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
วัตถุที่มุงหมายให้เกิด
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาแผนปัจจุบัน
ยาแผนโบราณ
ยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาใช้ภายนอก
ยาใช้เฉพาะที่
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาบรรจุเสร็จ
ยาสมุนไพร
แบ่งตามเภสัชตำหรับ
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ประโยชน์ในการรักษา
กลไลหารออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
แหล่งที่มาของยา
แหล่งกำเนิดของยา
ธรรมชาติ
จากพืช ได้จากส่วนต่างๆของพืชโดยตรง ไม่เปลี่ยนแปลงรูป เรียกว่า ยาสมุนไพร
จากสัตว์
จากแร่ธาตุ
จากการสังเคราะห์
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อตามสุตรเคมี
การเรียงตัวของอะตอม
กลุ่มอะตอม
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา
แบ่งเป็นกลุ่มๆ เช่นยานอนหลับ ยาแก้ปวด ลดไข้
เรียกชื่อตามการค้า
ยาในกลุ่มacetaminophen มัชื่อทางการค้า เช่น Sara Beramol Paracetamol Tylenol
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
รูปแบบที่เป็นของแข็ง
ยาแคปซูล
เป็นยาเจลาตินมีปลอกหุ้ เพื่อกลบความขม
ยาเม็ด
ยาเม็ดเคลือบ เพื่อให้ออกฤทธิ์ที่ลำไส้
ยาเม็ดที่ไม่ได้เคลือบ
ยาอมใต้ลิ้น
ออกฤทธิ์เร็ว
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
เคี้ยวก่อนกลืนออกฤทธิ์ได้ดี
ยาอม
ใช้อมแก้ไอ แก้เจ็บคอ
ยาผงเดือดฟู่
ละลายน้ำได้ง่าย ส่วนใหญ่เป็นเกลือแร่
ยาผง
มีทั้งชนิดกินและโรยแผล
ยาเหน็บ
เพื่อสอดเข้าไปในบริเวณช่องเปิด
ประเภทของเหลว
ยาน้ำที่สารละลายตัวทำละลายเป็นน้ำ
น้ำปรุง
เป็นสารละลายใสและอิ่มตัว พวกยาดม
ยาน้ำใส
น้ำใสๆไม่มีการตกตะกอน เช่น ยาหยอดตา
ยาน้ำเชื่อม
เป็นสารละลายเข้มข้นของน้ำตาล เหมาะสำหรับเด็ก
ยาจิบ
มีความหนืดเล็กน้อย ส่วนใหญ่ใช้เป็นยาแก้ไอ ขับเสมหะ
ยากลั้วคอ
ป้องกันหรือรักษาการอักเสบในคอ
ยาอมบ้วนปาก
ใช้ทำความสะอาดดับกลิ่นปาก
ยาหยอดจมูก
ใช้พ่นหรือหยอดเข้าจมูก
ยาหยอดหู
ส่วนมากเป็นน้ำยาใส
ยาสวนล้าง
ล้างบาดแผลหรือช่องต่างๆของร่างกาย มักเรียกว่า Douches
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช่น้ำ
ยาอิเล็กเซอร์
มีกลิ่นหอม รสหวานเป็นยารับประทานเท่านั้น
ยาสปริริต
สารหอมระเหย เช่น การบูร
ยาโคโลเดียน
หรือยากัด เป็นยาน้ำที่ีมีลักษณะข้น เหนียว มักใช้ทาบาดแผลขนาดเล็ก
ยากลีเซอริน
ลักษณะข้นเหนียว เช่นยาหยอดหู ยาอมบ้วนปาก
ยาถู
เป็นยาใช้ภายนอก
ยาป้าย
สมานแผล ระงับความปวด
ยาน้ำกระจายตัว
เจล
มีลักษณะเป็นกาว
โลชั่น
เป็นยาแขวนตะกอนคล้ายเจล สารยามีขนาดใหญ่ ยามีลักษณะหนืด
มิกซ์เจอร์
เป็นยาผสมน้ำ
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
**ขี้ผึ้ง
มีลักษณะเป็นน้ำมัน
ครีม
ใช้ป้องกันการติดเชื้อ
ประเภทอื่นๆ
ยาฉีด
ตัวยามีความบริสุทธิ์สูง
ยาทาผิวหนัง
ใช้ทาเฉพาะที่ อาจเป็นยาน้ำ
ยาพ่นฝอย
มักใช้ประกอบกับเครื่องพ่น
ยาดม
สูดดมเพื่อบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะ
ข้อดี-ข้อเสียของการให้เภสัชภัณฑ์ในวิถีทางต่างๆ
ยาชนิดรับประทาน
ข้อดี
สะดวก ปลอดภัย ราคาถูก สามารถให้ได้ด้วยตัว
ข้อเสีย
อาจระคายเคืองกับกระเพาะอาหาร ทำให้กระเพาะอาหารเป็นแผล
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็ว ไม่ระคายเคืองต่อทางเดินอาหาร
ให้ในปริมาณมากๆได้
ข้อเสีย
เกิดพิษง่าย รวดเร็ว และรุนแรงถึงชีวิต
ยามีราคาแพง
อาจทำให้เกิดHF เพราะกล้ามเนื้อหัวใจทำงานหนัก
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี
การดูดซึมเป็นไปอย่างช้าๆ ยาออกฤทธิ์นานพอสมควร
หากแพ้เฉียบพลัน สามารถใช้ tourniquest รัดบริเวณที่ฉีด
ข้อเสีย
สามารถให้ยาได้ไม่เกิน 2ml
ราคาแพง
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ชั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี
ยาถูกดูดซึมเร็วเกิดการระคายเคืองน้อยกว่าการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อเสีย
สามารถให้ได้ไม่เกิน5ml
ราคาแพง
ยาพ่นฝอย ยาแอโรซอล สูดดม
และยาหยอดจมูก หยอดหู
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็ว สามารถให้ยาด้วยตัวเอง
ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย
วิธีการให้ยาไม่สะดวก
ปริมาณยาไม่แน่นอน
อาจติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี
ยาถูกดูดซึม ออกฤทธิ์ได้เร็ว ไม่ผ่านตับ
ไม่ทำลายโดยกรด หรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ข้อเสีย
ยาบางชนิดรสชาติไม่ดี
ใช้เวลานาน ไม่สะดวกในการพูด
ยาเหน็บ
ข้อดี
เหมาะกับเด็กที่ทานยายาก
ออกฤทธิ์เฉพาะที่และทั่วร่างกาย
ข้อเสีย
ไม่สะดวกต่อการใช้
ราคาแพง
กลไลการออกฤทธิ์ของยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
การดูดซึมยา อัตราและปริมาณที่ถูกนำเข้าสู่กระแสโลหิต
Bioavailability สัดส่วนของยาที่ไม่ถูกเปลียนแปลงที่ถูกนำเข้าสู่กระแสเลือด
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
วิธีการผลิตยา
เช่น ยาน้ำใส ยาแขวนตะกอน
ขนาดยาที่ให้
ปัจจัยที่กำหนดความเข้มข้นของยา
ขนาดโมเลกุลยา
ยาที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำจะซึมผ่าน cell membrane ได้ดี
คุณสมบัติในการละลายไขมัน
ยาที่กินเข้าไปผ่านcell membrabe ยาตัวไหนที่ผ่านcell membrane ได้ดีแสดงว่ายาตัวนั้นมีความสามารถในการละลายในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับการผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
ยาที่คุณสมบัติกรดอ่อน ถูกดูดดซึมได้ดีใน mediumที่เป็นกรด
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อนถูกดูดดซึมได้ดีใน mediumที่เป็นด่าง
การให้ยาผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น ๆ
ให้ยาดูดซึมผ่านทางเดินหายใจ
การให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนัง SC IM Iv
การให้ยาดูดซึมทางผิวหนัง
การให้ยาเหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด
การนอนทำให้การเคลื่อนที่ของยาไปยังกระเพาะอาหารช้าลง
การได้รับอาหารอื่นร่วมด้วย ทำให้ลดการดูดซึมยาบางชนิด
พยาธิสภาพของร่างกาย เช่นท้องเสีย คลื่นไส้อาเจียน ทำให้ปริมาณยาที่อยู่ในกระเพาะอาหารลดลง
การกระจายตัวของยา
ยาตัวไหนจับกับ plasma protien ได้เยอะ การกระจายตัวน้อย
ความสามารถในการผ่านรกและสมอง
ยาที่ละลายในไขมันได้ดีจะกระจายตัวไปังอวัยวะเป้าหมายได้ดี
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังบริเวณนั้นๆ
การแปลสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงของยา
กระตุ้นการออกฤทธิ์ยา ยาบางชนิดต้องถูกเปลี่ยนแแปลงโครงสร้าง เพื่อที่จะออกฤทธิ์
การสิ้นสุดการออกฤทธิ์ การแปลสภาพช่วยให้ยามีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดีขึ้น
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์ที่อยู่ในไซโตพลาสซึม ของอวัยวะต่างๆ เช่นตับ
ในร่างกายมีเอนไซม์หลายชนิดที่ช่วยในการแปลสภาพยา
ปฎิกิริยาการเปลี่ยนแปลงยา
Phase I reaction การแปลสภาพยาโดยอาศัย cytochrom P450 ให้ยาเป็นPolar metabolite มากขึ้นมขับถ่ายออกรางกาย เข้าสู้Phase II
Phase II reaction เติมพวก functional group เพื่อให้มีประจุ มีขั้วให้มันละลายน้ำ
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolismm
อายุ
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
ปฎิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
ยาบางชนิดเหนี่ยวนำเอนไซม์ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงยาและทำลายยาอื่นอย่างรวดเร็ว มากขี้น
ยาบางชนิดยับยั้งเอนไซม์ ทำให้ยาชนิดอื่นถูกแปลสภาพได้ยา ออกฤทธิ์นานขึ้น
ยาที่เกิดปฏิกิริยาเร็วกว่าอาจทำให้ endogenous substrates ในร่างกายหมดไป
การขับถ่ายยา
ร่างกายสามารถกำจัดออกได้ทาไต ตับ น้ำดี และปอด
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
loading dose ขนาดยาที่ให้ครั้งแรกเพื่อให้ถึงระดับยาที่ต้องการในพลาสมา
onset ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาเริ่มออกฤทธิ์
ค่าครึ่งชีวิต เป็นตัวกำหนดการรักษา
Duration of action ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์จนยาหมดฤทธิ์
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์
การจับของยากับ receptor
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยากับยาที่ร่างการต้องการ
กลไกการออกฤทธิ์ของยาทางพลศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับตัวรับ
chemical action เช่นยาลดกรด
Physical action เช่นยาระบาย
ออกฤทธิ์จับกับreceptor
ตัวรับ
receptor มีลักาณะจำเพาะ เจาะจงจับกับสารที่โครงสร้างเจาะจงแล้วทำให้เกิดการทำงานของเซลล์นั้นๆ
Agonist
ยาที่จับกับreceptorแล้วเห็นฤทธิ์ในการรักษา
Antagonist
ยาที่จับกับreceptor แล้วไม่เห็นฤทธิ์ในการรักษา
Partial agonist
ยาที่จับกับreceptorแล้วออกฤทธิ์เพียงบางส่วน
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Affinity ความสามารถในการจับกับreceptor
Potency ความแรงของฤทธิ์ยา
Efficacy ควาสามารถที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
ระดับความปลอดภัยของยา
ถ้ายาตัวไหนีค่าTIสูงจะปลอดภัยสูง
การแปลผันของการตอบสนองต่อยา
Hypereactivity การตอบสนองต่อยาที่มากกว่าปกติ
Hypersensitivity การแพ้ยา กินแล้วแพ้
Hyporeactivity การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติ
Tolerance การดื้อยาาหรือทนฤทธิ์ของยา
Idosyncrasy การตอบสนองที่แตกต่างจากปกติที่ไม่พบเกิดในคนส่วนใหญ่
Tachyphylaxis การดื้อยา
Placebo effect ฤทธิ์หลอก
สาเหตุของกาารตอบสนองต่อยาที่แตกต่างกัน
มีการเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบของอวัยวะทีเกิดการตอบสนองจากการกระตุ้นของreceptor
มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณยาไปถึงreceptor
มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนหรือการทำงานของreceptor
มีความแตกต่างในความเข้มข้นของ endogenous receptor ligands