Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
1.วัตถุที่รับรอบไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
2.วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย
3.วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์
4.วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ
เภสัชวิทยาและเภสัชกรมม
เภสัชวิทยา คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยาและฤทธิ์หรือผลของยาที่มีต่อร่างกา
เภสัชกรรม คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยา ผสมและจ่ายยาเพื่อรักษา
ประเภทของยา
1.ยารักษาโรคปัจจุบัน
4.ยาควบตุมพิเศษ
5.ยาใช้ภายนอก
3.ยาอันตราย
6.ยาใช้เฉพาะที่
2.ยาแผนโบราณ
7.ยาสามัญประจำบ้าน
1.ยาแผนปัจจุบัน
8.ยาบรรจุเสร็จ
9.ยาสมุนไพร
2.แบ่งตามเภสัชตำรา
1.ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
2.ประโยชน์ในการรักษา
3.กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
4.แหล่งที่มาของยา หรือคุณสมบัติทางเคมีและเภสัชวิทยาของยา
แหล่งกำเนิดยา
1.จากธรรมชาติ
1.1จากพืชเป็นยาที่ได้จากส่วนต่างๆของพืชโดยตรง เช่น ราก ใบ ลำต้น
1.2จากสัตว์ โดยการสกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์ เช่น ตับ ดีหมู
1.3จากแร่ธาตุ เช่น ไอโอดีน ทองแดง น้ำมันเกลือแร่
จากการสังเคราะห์
ปัจจุบันส่วนใหญ่ได้จากสังเคราะห์ โดยอาศัยปฎิกิริยาทางเคมีในห้องปฎิบัติการ เช่น เกลือของเหล็ก ใช้บำรุงโลหิต
การเรียกชื่อยา
การเรียกชื่อตามสูตรเคมี
2.เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่่่อตัวยา
3.เรียกชื่อตามการค้า
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
1.รูปแบบที่เป็นของแข็ง
1.1 ยาแคปซูล
1.2 ยาเม็ด
1.2.1 ยาเม็ดเคลือบ เพื่อให้ออกฤทธิ์ที่ลำไส้ เป็นการป้องกันการแตกตัวของยาที่กระเพาะอาหาร
1.2.2ยาเม็ดที่ไม่เคลือบ
1.3 ยาอมใต้ลิ้น หรือในกระพุ้งแก้ม
1.4 ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
1.5 ยาอม หรือ โทรเช
1.6 ยาผงเดือดฝู่
1.7 ยาผง
1.8 ยาเหน็บ
2.ประเภทของเหลว
2.1 ยาน้ำสารละลาย
2.1.1 ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
-น้ำปรุง เป็นสารละลายใสและอิ่มตัวของน้ำมันระเหยง่าย
-ยาน้ำใส เป็นยาละลายน้ำใส
-ยาน้ำเชื่อม เป็นสารละลายเข้มข้นของน้ำตาล
-ยาจิบ เป็นสารละลายใส มีลักษณะหนืดเล็ดน้อย
-ยากลั้วคอ เป็นสารละลายใสและเข้มข้นตัวยามีฤทธิ์ต้านการฆ่าเชื้อ
-ยาอมบ้วนปาก เป็นสารละลายใสใช้ทำความสะอาดช่องปาก
-ยาหยอดจมูก เป็นสารละลายสีใส
-ยาหยอดหู ส่วนมากเป็นยาน้ำใส บางครั้งแขวนตะกอน
-ยาสวนล้าง เป็นสารละลายชนิดปราศจากเชื้อสำหรับล้างบาดแผล
-ยาน้ำสวนล้างทวารหนัก
2.1.2 ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
-ยาอิลิกเซอร์ เป็นสารละลายใสชนิดไฮโดรแอลกฮอล์
-ยาสปริริต เป็นสารละลายใสของสารหอมระเหยง่าย
-ยาโคโลเดียนหรือยากัด เป็นยาน้ำที่มีลักษณะข้น เหนียว
-ยากลีเซอริน เป็นยาน้ำที่มีลักษณะข้น เหนียว หรือกึ่งแข็ง
-ยาถูนวด เป็นยาน้ำใช้เฉพาะภายนอกอาจเป็นสารละลายใส
-ยาป้าย เป็นยาน้ำที่ประกอบด้วยตัวยาที่มีฤทธิ์ต้านการติดเชื้อสมานแผลหรือระงับปวด
2.2 ยาน้ำกระจายตัว
-เจล ตัวยามีขนาดเล็กแต่ไม่ละลายน้ำ
-โลชั่น เป็นยาแขวนตะกอนชนิดใช้ภายนอก
-แมกมาและมิลค์ เป็นยาแขวนตะกอนคล้ายเจล
-มิกซ์เจอร์ เป็นยาน้ำผสม
-อิมัลชั่น มีทั้งรูปบบยากินและยาทาเฉพาะที่
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
-ขี้ผึ้ง มีลักษณะเป็นน้ำมันเป็นยาที่เตรียมใช้ทาผิวหนังเพื่อลดการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
-ครีม เป็นยาน้ำแขวนตะกอนที่มีความเข้มข้นมาก
ประเภทอื่นๆ
-ยาฉีด เป็นเภสัชภัณฑ์ชนิดไร้เชื้อที่บริหารยาโดยการฉีด
-ยาทาผิวหนัง เป็นยาที่ใช้เฉพาะที่ อาจเป็นยาน้ำใส ยาน้ำแขวนตะกอนก็ได้
-ยาพ่นฝอย เป็นยาที่เตรียมขึ้นเพื่อหวังผลเฉพาะที่ และป้องกันฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ต่อร่างกายส่วนอื่น
-ยาดม เป็นยาที่มีกลิ่มหอยระเหย สามารถสูดดมได้ง่าย
ข้อดี ข้อเสียของการให้เภสัชภัณฑ์ในวิถีทางต่างๆ
1.ยาชนิดรับประทาน
ข้อดี
-สะดวก ปลอดภัย ไม่เจ็บ ราคาถูก
-หากเกิดอันตรายจากการรับประทานยาส่วนใหญ่อาการจะไม่รุนแรงเท่ากับการฉีด
ข้อเสีย
-ไม่เหมาะสมกับยาที่ดูดซึมผ่านระบบทางเดินอาหารช้า
-ยาอาจระคายเคืองกระเพาะอาหาร
2.ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อดี
-ออกฤทธิ์เร็ว ไม่ระคายเคืองต่อทางเดินอาหาร
ข้อเสีย
-เกิดพิษง่าย รวดเร็ว และรุนแรงถึงชีวิต ยามีราคาแพง
3.ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี
-การดูดซึมเป็นไปอย่างช้าๆให้ยาออกฤทธิ์ได้นานพอสมควร
ข้อเสีย
-สามารถให้ยาได้ไม่เกิน 2 มิลลิลิตร ยามีราคาแพง
-บริเวณที่ฉีดทำให้เกิดแผลหรือฝีได้
4.ยาชนิดฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี
-ยาถูกดูดซึมได้เร็วและเกิดการระคายเคืองน้อยกว่าการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
-สามารถใช้กับยาฉีดที่ละลายได้ในน้ำมัน
ข้อเสีย
-สามารถให้ยาได้ไม่เกิน 5 มิลลิลิตร
-การสะสมยาไว้ที่เนื้อเยื่ออาจทำให้การดูดซึมยาช้าลง
5.ยาพ่นฝอย ยาแอโรซอล สูดดม และยาหยอดจมูก หยอดหู
ข้อดี
-ยาออกฤทธิ์เร็ว
ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย
-วิธีการให้ยาไม่สะดวก
-ปริมาณยาที่ไม่แน่นอน
6.ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี
-ยาดูดซึมและออกฤทธิ์ได้เร็ว
-ไม่ถูกทำลายโดยกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ข้อเสีย
-ยาบางชนิดรสชาติไม่ดี
ใช้เวลานานไม่สะดวกในการพูดคุย
ยาเหน็บ
ข้อดี
-เหมาะกับเด็กที่รับประทานยายาก
-ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่และทั่วร่างกาย
ข้อเสีย
-ไม่สะดวกในการใช้ ราคาแพง
-สำหรับยาที่เหน็บช่องคลอดอาจเกิดการติดเชื้อภายในของอวัยวะสืบพันธุ์