Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ - Coggle Diagram
การพยาบาลภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
มารดาที่มีภาวะช็อค
ชนิด
Hypovolemic shock
Fluid loss shoch
Hemorrhagic shock
ความดันต่ำในท่านอนหงาย
ภาวะช็อกร่วมกับ DIC
Septic shock
Cardiogenic shock
Neurogenic shock
สาเหตุ
การลดลงของปริมาณออกซิเจนในเลือด
Cardiac output ลดลง
ความผิดปกติของ Micro circulation
ความผิดปกติของเยี่ยหุ้มเซลล์
พยาธิสภาพ
Primary shock
CO2ลดลงปริมาณเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆลดลงและร่างกายพยายามปรับควบคุมให้ความดันโลหิตปกติ
ปัสสาวะลดลง
Secondary shock
เซลล์ขาด O2 เป็นเวลานานการคั่งของCO2ในเลือดสูงขึ้น
เซลล์ตายร่างกายจะไม่ตอบสนองต่อการรักษาใดๆ
การรักษา
เจาะ ABG
ให้ IV /เลือด
ให้ให้ยาเพื่อให้หลอดเลือดตีบตัว
ให้ O2
รับผ่าตัด/ช่วยห้ามเลือด
การพยาบาล
Obs.V/S ทุก 15 นาที
ให้มารดานอนหงายราบและดูแลไม่ให้ทางเดินหายใจอุดกั้น
ให้ความอบอุ่นกับร่างกาย
ยกปลายเท้าสูงเล็กน้อย
ให้ IV
สวนปัสสาวะ บันทึก I/O
On O2 8-10 LPM
ขอความช่วยเหลือจากทีมสุขภาพอื่นเมื่อจำเป็น
Amniotic Embolism
ภาวะที่น้ำคร่ำพัดเข้าไปในกระแสเลือดของมารดา ซึ่งส่วนประกอบของน้ำคล่ำจะมีผลทำให้เกิดภาวะการล้มเหลวของระบบไหลเวียน หัวใจ และระบบหายใจ
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตก
มีทางเปิดติดต่อกันของน้ำคร่ำกับเส้นเลือดดำของมารดา
มดลูมดลูกมีการหดรัดตัวทำให้เกิดความแตกต่างของแรงดันภายในมดลูกสูงพอที่จะดันให้น้ำคร่ำผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดา
อาการและอาการแสดง
ระยะที่ 1
ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว หายใจลำบาก แน่นหน้าอก ปลายมือปลายเท้าเขียว เกิดขึ้นทันทีทันใด หัวใจและปอดหยุดทำงาน
ระยะที่ 2
เกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัว มดลูกหัวรัดตัวไม่ดี ตกเลือดหลังคลอด เกร็ดเลือดต่ำเกิดภาวะ DIC และเสียชีวิต
การวินิจฉัย
Acute hypertension or cardiac alert
Acute hypoxia
Consumptive coagulopathy
การรักษา
ป้องกันและแก้ไขภาวะขาดออกซิเจน ให้ O2 100%
ป้องกันระบบไหลเวียนและระบบหายใจล้มเหลว
ป้องกันการเกิดภาวะ DIC และการตกเลือด
ช่วยคลอดให้เร็วที่สุด
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้คลอดอย่างใกล้ชิด
ตรวจเช็คและเตรียมอุปกรณ์ฟื้นคืนชีพ
ดดูแลจัดท่านอนตะแคงและให้ O2 100%
ให้ IV
สวนปัสสาวะ บันทึก I/O
ประคับประคองจิตใจของสามีและคลอบครัว
Uterine inversion
สาเหตุ
มีพยาธิสภาพที่มดลูก
ทำคลอดรกไม่ถูกวิธี
รกเกาะแน่นแบบ Placenta accrete
สายสะดือสั้นจนดึงรั้ง
การเพิ่มแรงดันภายในช่องท้องอย่างรุนแรงและรวดเร็ว
ชนิด
Incomplete inversion: มดลูกปลิ้นโดยการที่ปลิ้นยังไม่ผลจากปากมดลูก
Complete invasion : มดลูมดลูปลิ้นโดยการที่ปลิ้นพ้นปากมดลูก
Prolapsed of inverted uterus : มดลูกส่วนที่ปลิ้นพ้นออกมาจากช่องคลอด
อาการและการแสดง
ยอดมดลูกเป็นแอ่งคล้ายปล่องภูเขาไฟ
PV:พบก้อนเนื้อบริเวณปากมดลูกหรือช่องคลอด
มีอาการปวด ช็อก ตกเลือดทางช่องคลอดอย่างเฉียบพลันและปวดท้องอย่างรุนแรง
รายที่เป็นเรื้อรังเยื่อบุมดลูกจะแห้ง
การรักษา
ให้ O2 mask with bag 8-10 LPM
ให้ RLS
ดันมดลูกให้กลับเข้าไปในโพรงมดลูก โดยให้ยาระงับความเจ็บปวดยาคลายกล้ามเนื้อ
การพยาบาล
ประเมินชนิดของมดลูกปลิ้น
ป้องกันภาวะ shock
Uterine Rupture
สาเหตุ
Spontaneous rupture: มดลูกแตกเอง จากมารดาหรือทารก
Traumatic rupture: เกิดจาอุบัติเหตุ
Rupture previous uterus scar: มีรอยแผลเดิมที่มดลูก
ชนิด
Complete uterine rupture
การฉีกขาดของกล้ามเนื้อมดลูกทั้ง 3 ชั้น จนทะลุถึงเยื่อบุช่องท้อง
ทารกหลุดเข้าไปในช่องท้อง และมักเสียชีวิต
Incomplete uterine rupture
การฉีกขาดของกล้ามเนื้อมดลูก 2ชั้น ซึ่งเป็นมดลูกชั้นใน และชั้นกลาง
ทารกยังคงอยู่ในโพรงมดลูก
อาการและอาการแสดง
ก่อนมดลูกแตก
อาจพบเลือดออกทางช่องคลอด
ตรวจพบ tetanic contraction หรือพบ Bandl’ring
กระสับกระส่าย ,PR เบเร้ว ,RR ไม่สม่ำเสมอ
ปวดท้องน้อยอย่างรุนแรง
PV พบปากมดลูกอยู่สุง
FHS ไม่สม่ำเสมอ
หลังมดลูกแตก
อาการปวดท้องหายไป
คลำพบส่วนทารกชัดเจน
ผู้คลอดรู้สึกเหมือนมีอะไรแยก
FHS เปลี่ยนแปลงหรือหายไป
PV พบส่วนนำลอยสูงกว่าเดิม
Hypovolimic shock
การรักษา
Shock ให้ RLS เตรียมเลือด ให้ O2
เตรียม C/S
ให้ ATB
กรณีทารกเสียชีวิต ดูแลสุขภาพจิตของมารดาและครอบครัว
การพยาบาล
ก่อนมดลูกแตก
แนะนำให้มาฝากครรภ์
หลีกเลี่ยงการทำVBAC
คัดกรอง ประเมิน และวินิจฉัยปัจจันเสี่ยงต่อการเกิดภาวะมดลูกแตก
ระยะคลอดติดามความก้าวหน้าของการคลอด สังเกตุ sign ของภาวะมดลูกแตก หากพบควรรายงานแพทย์เพื่อยุติการตั้งครรภ์
มดลูกแตกแล้ว
NPO ให้ IV
Obs.V/S ,FHS ทุก 15 นาที
ให้ O2 100%
ดูแลให้เลือดทดแทน
เตรียมผู้คลอดทำ C/S
ปลอบโยนให้กำลังใจ
Precipitous Labor
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติใช้เวลาตั้งแต่เจ็บครรภ์จนถึงคลอดน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 ชม. หรือระยะที่ 2 ของการคลอดใช้เวลาน้อยกว่า 10 นาที การเปิดขยายของปากมดลูกในระยะปากมดลูกเปิดขยายเร็ว 5 Cm/hr. ในครรภ์แรก และมากกว่า 10 cm/hr ในครรภ์หลัง
สาเหตุและปัจจัย
ทารกตัวเล็ก
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อช่องคลอดไม่ดี
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
ผู้คลอดครรภ์หลัง
ผู้คลอดมีเชิงกรานกว้าง
มีประวัติคลอดเฉียบพลันหรือคลอดเร็ว
ไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รู้สึกอยากเบ่ง
ไวต่อการให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
เลือดคลั่งใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
เนื้อเยื่อบริเวณช่องคลอดฉีกขาด
ติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีและอาจตกเลือดหลังคลอด
อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด
มดลูกแตกจากการหดรัดตัวของมดลูกรุนแรง
ด้านทารก
เลือดออกในสมอง
เกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป
ขาดออกซิเจน
ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทก
การพยาบาล
ซักประติ
ประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือการก็เร็ว ความไวต่อการเร่งคลอดลักษณะอาการเจ็บครรภ์หรืออาการอื่นๆร่วมกับการเจ็บครรภ์
ตรวจร่างกาย
PV
ประเมิน UC
FHS
On monitor EFM
จิตสังคม
ให้กำลัง
ให้ข้อมูล
ให้มารดาระบายความรู้สึก
Postpatum Hemorrhages
การเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 ml จากการคลอดทางช่องคอดหรือ การเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 ml จากการผ่าตัดทางหน้าท้อง
ลักษณะการตกเลือด
การตกเลือดหลังคลอดทันที่ Early PPH:ตกเลือดภายใน 24 hr.แรกหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดภายหลัง Late PPH:ตกเลือดภายหลัง 24 hr. จนถึง 6 wks.หลังคลอด
อาการและอาการแสดง
Mlid PPH
เสียเลือดร้อยละ 10-15 ปริมาณ 500-1,000 cc
BP ปกติ
ใจสั่น มึนงง ชีพจรเร็ว
Moderate PPH
เสียเลือดร้อยละ 15-25 ปริมาณ 1000-15000 cc
BP เล็กน้อย 80-100
อ่อนแรง เหงื่อออก ชีพจรเร็ว
Severe PPH
เสียเลือดร้อยละ 25-35 ปริมาณ 1500-2500 cc
กระสับกระส่าย ซีด ปัสสาวะออกน้อย
Major PPH
เสียเลือดร้อยละ 35-40 ปริมาณ 2500-3000 cc
หมดสติ ขาดอากาศ ไม่มีปัสสาวะ
การพยาบาล
ประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการตกเลือด
Black ground and Body condition
Breast and location
Uterus
Bladder
Bleeding or Lochia
Episiotomy
Umbilicalcord prolapse
ภาวะที่สายสะดือเคลื่อนต่ำกว่าส่วนนำของทารกหรือโผล่ออกมานอกปากช่องคลอด
ชนิด
Occult cord:สายสะดืออยู่ข้างๆหรือเหนือส่วนนำ
Forelying cord:สายสะดือเคลื่อนต่ำลงมาจนถึงปากมดลูก PV พบสายสะดือ และถุงน้ำยังไม่แตก
Complete prolapse cord:สายสะดือโผล่พ้นปากช่องคลอดมักพบในกรณีที่ถุงน้ำแตกแล้ว
สาเหตุ
Malpresentation:Breech presentation,Transverse lie
ตั้งครรภ์แฝดเด็กหรือแฝดน้ำ
ทารกตัวเล็ก
ส่วนนำไม่กระชับกับช่องช่องคลอด
ถุงน้ำแตกก่อนกำหนด
สายสะดือยาวกว่าปกติ
รกเกาะต่ำ หรือใกล้ปากมดลูก
ผลกระทบ
มารดา:คลอดโดยการทำสูติศาสตร์หัตถการ
ทารก:fetal distress
การรักษา
ลดการกดทับของสายสะดือ เช่น ท่าSim’s,Knee chest,Trendelenbrug position
ดันส่วนนำของทารกไม่ใก้กดทับสายสะดือ
ทำให้ Bladder full
พยายามช่วยให้ทารกคลอดเร็วที่สุด
ให้ O2 แก่มารดา 8-10 LPM
หากทารกเสียชีวิตแล้ว ให้มารดาคลอดเองทางช่องคลอด