Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา - Coggle Diagram
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์
ทุกข์ จาก อาการของโรค
ทุกข์ จาก ความวิตกกังวล
ทุกข์ จาก ภาวะเศรษฐกิจ
การบรรเทาเเละดับทุกข์
เมื่อยามเจ็บป่วย ต้องรู้จักทำใจให้สงบ ร่วมมือกับผู้ให้การดูแลรักษา เพื่อทำให้ทุกข์ บรรเทาเบาบางลงเเละหมดไป
นิพพาน
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความคลายกำหนัด กำจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
อายตนะสิ่งนั้นมีอยู่ไม่ใช่ดิน น้ำ ลม ไฟ มิใช่โลกนี้-โลกหน้า
อสังขตะ คือ ที่สิ้นสุดแห่งทุกข์
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต ใช้ในการปฏิบัติเพื่อการดับไปแห่งทุกข์
อริยสัจ
เป็นเหตุและผลของการเกิดแห่งทุกข์และวิธีการดับทุกข์ คือการไปสู่นิพพาน
กฏไตรลักษณ์
กฏของธรรมชาติ
อนิจจัง ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
ทุกขัง ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
อนัตตา ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
ศาสนาพุทธ
ความจริงสูงสุด
กฏไตรลักษณ์ (The Three Characteristics of Existence)
อริยสัจ (The Four Noble Truths)
ปฏิจจสมุปบาท (The Law of Cause and Effect)
นิพพาน (Nirvana)
ศีล 5
หลักปฏิบัติพื้นฐานของชาวพุทธ
ศีลข้อ 1 ไม่ฆ่าสัตว์
ศีลข้อ 2 ไม่ลักขโมย
ศีลข้อ 3 ไม่พฤติในกาม
ศีลข้อ 4 ไม่พูดเท็จ
ศีลข้อ 5 ไม่ดื่มสุราเมรัย
หลักปฏิบัติศีลธรรม
หลักคำสอนสำคัญของศาสนา
โอวาทปาติโมกข์ คือ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที
รู้จักบุญคุณและตอบแทน เป็นหลักธรรมพื้นฐานของมนุษย์
การปฏิบัติหน้าที่ต่อกัน
เรื่องสำคัญในศาสนา
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคำสอน
แก่นหรือสาระสำคัญของคำสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
การดูแลรักษาด้านสังคม
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์