Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา(ศาสนาพุทธ) -…
หลักการดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา(ศาสนาพุทธ)
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ทํากิจวัตรสําคัญเท่าที่ทําได้
เป็นตัวของตัวเอง
ลดความทุกข์ทรมาน
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลด้านร่างกาย เมื่อคนใกล้ตายความอ่อนเพลียเป็นสิ่งที่ต้องยอมรับ แต่ไม่จําเป็นต้องให้การรักษาใด ๆ ควรให้ผู้ป่วยในระยะนี้พักผ่อนให้เต็มที่ ภาวะขาดน้ําในภาวะใกล้ตายนั้นจะกระตุ้นให้หลั่งสารเอ็นดอร์ฟินทําให้ผู้ป่วยรู้สึกเป็นสุขและสุขสบายขึ้น หากพบว่าปาก และริมฝีปากแห้งใช้สําลีชุบน้ําสะอาดแตะที่ริมฝีปากแล้วทางด้วยวาสลินหรือสีผึ้ง หากพบว่าจมูกแห้ง หากพบว่าดวงตาแห้ง ให้หยอดตาด้วยน้ําตาเทียม หากพบว่ามีเสมหะมากควรให้ยาลดเสมหะแทนการดูดเสมหะ
การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ สิ่งที่คนใกล้ตายกลัวมากที่สุดคือ การถูกทอดทิ้ง การอยู่อย่างโดดเดี่ยว และสิ่งที่ต้องการ ต้องการจากไปท่ามกลางคนที่รัก ญาติพี่น้อง เพื่อนพ้องน้องพี่ เพื่อให้มีเวลาสําหรับการกล่าวอําลาและทําการอโหสิกรรมต่อกันและกัน ควรให้โอกาสคนใกล้ตายได้แสดงความรู้สึกและความต้องการโดยพูดแต่สิ่งดีงามเพื่อการระลึกถึงคุณงามความดี บุญบารมีที่ได้กระทํามาในอดีต อ่านหนังสือธรรมะให้ฟัง ท่องบทสวดมนต์หรือเปิดเทปบทสวดมนต์เบา ๆ ให้ฟัง
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทําอะไร ได้แค่ไหนต้องมีการสื่อสารอย่างเหมาะสมกับคนไข้แต่ละราย
การใส่อุปกรณ์เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
การทํางานเป็นทีม
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
การดําเนินของโรคทําให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป เป็นอริยสาวกผู้มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ สําหรับเตือนใจไม่ให้ประมาท
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย ซึ่งมีคติเนื่องอยู่ในธรรมดาจะได้ชีวิตที่ปราศจากความทุกข์ ไม่ถูกบีบคั้นด้วยความรู้สึกหวาดหวั่นพรั่นกลัวต่อความพลัดพราก
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป ท่านว่าเป็นปุถุชนที่ยังมิได้สดับคือยังไม่มีการศึกษาก็ระลึกถึงความตายด้วยความหวาดหวั่นพรั่นกลัว
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ เช่น ความโกรธแค้น ความรู้สึกถูกผิด
ช่วยปล่อยว่าง ทั้งรูปธรรม นามธรรม แม้แต่ความรักก็ต้องปล่อยวาง
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดจา
กล่าวคําอําลา ก็ควรกล่าวคําอําลา อาจพูดขอบคุณสิ่งดี ๆที่เขาทําให้กับทุกคน
การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตายมักจะมีความกลัวหลายอย่าง
กรรมอารมณ์ คือ อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทําไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตามเวลาใกล้จะดับจิตอารมณ์อันนั้นแหละจะมาปรากฏทางด้านจิตใจของผู้ใกล้จะตาย
กรรมนิมิต จะมาปรากฏให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตายถ้านิมิตที่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปดีถ้านิมิตรไม่ดีเกิดขึ้นในเวลานั้นก็ไปไม่ดี
คตินิมิตหมายถึงเครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตายถ้าจะไปเกิดในอบายภูมิมีนรก เปรต อสุรกาย ดิรัจฉานจะต้องเห็นเครื่องหมายที่จะไปเกิด
การนําผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 3กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลก คือ การติดเชื้อเอชไอวี ดังนั้นกลยุทธ์ของการรณรงค์ผู้ติดเชื้อรายใหม่ใชวิธีการประชาสัมพันธ์ “รักเดียวใจเดียวไม่เกี่ยวข้องเอดส์”
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทําให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
การเป็นคนดีที่มีศีลธรรม ข้อปฏิบัติ คือ การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน ส่งผลให้เกิดความเครียด ความอิจฉาริษยา ความเคียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ อาจถึงขั้นร้ายแรง
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอออล์ นอกจากมีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเองแล้ว เช่น อาจเกิดโรคมะเร็งตับ มะเร็งของท่อน้ําดี มะเร็งปอด
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ตามความเชื่อและความศรัทธาของผู้ที่นิยมบริโภคอาหารเจ กล่าวว่า “กินผักกินไม้หยุดทําลายชีวิตสัตว์” ดังนั้นการบริโภคพืชผัก ก็ควรต้องเลือกผักอินทรีย์ หรือผัดปลอดสาร ซึ่งมองดูเหมือนจะป้องกันได้ง่าย แต่อย่างไรก็ตามโลกใบนี้ก็ยังใช้สิ่งแวดล้อมร่วมกัน มลพิษในอากาศและน้ําก็ยังคงมีผลกระทบได้
หลักคําสอนในพุทธศาสนา
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุณและตอบแทน อันเป็นหลักธรรมพื้นฐานทั่วไปของมนุษย์ เพื่อการดํารงอยู่อย่างปกติสุข
หลักปฏิบัติศีลธรรม
หลักปฏิบัติศีลธรรม เป็นหลักคําสอนสําคัญของศาสนา ได้แก่ โอวาทปาติโมกข์ คือ การไม่ทําความชั่วทั้งปวง การบําเพ็ญแต่ความดี การทําจิตให้สะอาดบริสุทธิ์
ศาสนา (Religion) หมายถึง ข้อผู้พันระหว่างชีวิตมนุษย์กับความจริงสูงสุดที่มนุษย์เชื่อเรื่องสําคัญในศาสนา
แก่นหรือสาระสําคัญของคําสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคําสอน
ศีล 5เป็นหลักปฏิบัติพื้นฐานของชาวพุทธ
ศีลข้อ 3กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศาสนาพุทธกล่าวถึงความจริงสูงสุด
อริยสัจ
ปฏิจจสมุปบาท
กฏไตรลักษณ์
นิพพาน
อริยสัจ หมายถึงคําสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประการหนึ่ง ว่าด้วย ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการซึ่งเป็นรากฐานของคําสอนพระองค์ทั้งมวล
กฏไตรลักษณ์ หมายถึง กฏของธรรมชาติ
ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อนิจจัง คือความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
นิพพาน
ความคลายกําหนัด กําจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
อายตนะ (สิ่ง) สิ่งนั้นมีอยู่ไม่ใช่ดิน น้ํา ลม ไฟ มิใช่โลกนี้-โลกหน้า มิใช่อาทิตย์-ดวงจันทร์ ในอายตนะไม่มีไป-มา ไม่มีตั้งอยู่ ไม่มีเกิด-ตาย เป็นอสังขตะ คือ ที่สิ้นสุดแห่งทุกข์
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ปฏิจจสมุปบาท หมายถึง กระบวนธรรมของจิตในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์ใช้ในการปฏิบัติเพื่อการดับไปแห่งทุกข์
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
การปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล ผู้ป่วยต้องเข้าใจเรื่อง ความทุกข์ด้วยว่ามนุษย์ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิด แก่ เจ็บ ตายได้ ผู้ป่วยเมื่อยามเจ็บป่วย ต้องรู้จักทําใจให้สงบ
ทุกข์ จาก อาการของโรค
ทุกข์ จาก ภาวะเศรษฐกิจ
ทุกข์ จาก ความวิตกกังวล
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
การดูแลรักษาด้านสังคม