Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานเเละหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานเเละหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ใการวินิจฉัย บำบัด รักษา บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
วัตถุที่รับรองไว้ในตำรับยาที่รัฐบาลประกาศ
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพโครงสร้างหรือการกระทำหน้าที่ใดๆของร่างกายมนุษย์หรือสัตว์วัตถุ
ไม่รวมถึง
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้เป็นอาหารสำหรับมนุษย์เครื่องกีฬาเครื่องมือเครื่องใช้ในการส่งเสริมสุขภาพเครื่องสำอางเครื่องมือส่วนประกอบของเครื่องมือที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะหรือวิชาชีพเวชกรรม
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในห้องวิทยาศาสตร์สำหรับการวิจัย การวิเคราะห์หรือการชันสูตรโรคซึ่งมิได้กระทำโดยตรงต่อร่างกายมนุษย์
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการเกษตรอุตสาหกรรมตามที่รัฐมนตรีประกาศ
เเหล่งกำเนิดยา
เเบ่งเป็น2 เเหล่ง
จากการสังเคราะห์
ปัจจุบันยาส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมีในห้องปฏิบัติการเช่นเกลือของแข็งใช้บำรุงโลหิต อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ ใช้เป็นยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
จากธรรมชาติ
สัตว์ โดยสกัดจากอวัยวะบางส่วน
เเร่ธาตุ
ยาที่ได้จากเเรธาตุ เช่น
ผงน้ำตาลเกลือเเร่
ยา Lithium carbonate เป็นยารักษาโรคจิตคลุ้มคลั่ง
ยาใส่เเผลสด Tincture iodine
ยาลดกรดประเภทอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ เเมกนีเซียมไฮดรอกไซด์
พืช ได้จากส่วนต่างๆของพืชโดยตรงนำ มาปรุงเป็นยาโดยไม่เปลี่ยนเเปลงรูปเรียกว่า ยาสมุนไพร
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม Pharmaceutical preparation ,Pharmaceutical product
หมายถึง ยารักษาโรคซึ่งถูกปรุงแต่งเป็นรูปแบบต่างๆ(dosage form) เพื่อความเหมาะสมในการใช้ยาและสะดวก ได้ผลดีในการรักษาโรค
เเบ่งเป็น 4รุปแบบ
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยากลั้วคอ (Gargale) = เป็นสารละลายใสเเละเข้มข้นตัวยามีฤทธิ์ต้านการฆ่าเชื้อ
ยาอมบ้วนปาก (Mouthwash) = เป็นสารละลายใช้ทำความสะอาดดับกลิ่นปาก
ยาจิบ (Linctuses) = เป็นสารใส หนืดเล็กน้อย ประกอบด้วยยาระงับการไอ
ยาหยอดจมูก (Nasal preparations) = เป็นสารละลายใส ใช้พ่นหรือหยอดทางจมูก
ยาน้ำเชื่อม (Syrups) = เป็นสารละลายเข้มข้นของน้ำตาล ใช้เป็นยารับประทานเท่านั้น
ยาหยอดหู(Otic preparations) = ส่วนมากเป็นยาน้ำใส บางครั้งเป็นยาเเขวนตะกอน
ยาน้ำใส (Solution) = เป็นยาละลายน้ำใส ซึ่งประกอบด้วยตัวยาซึ่งอาจเป็นสารของเหลวหรือของเเข็งละลายในน้ำบริสุทธิ์
ยาสวนล้าง (Irrigation) = เป็นสารละลายชนิดปราศจากเชื้อสำหรับล้างบาดเเผล
น้ำปรุง (Aromatic water) =เป็นสารละลายใสเเละอิ่มตัวของน้ำมันระเหยง่าย
ยาน้ำสวนทวารหนัก (Enemas) = เป็นสารละลายใสประกอบด้วยตัวทำละลายซึ่งอาจเป็นน้ำ กลีเซอรีน
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช่น้ำ
Elixir เป็นสาารละลายใสชนิดไฮโดรเเอลกอฮอล์ ที่มีกลิ่นหอม เเละหวาน ใช้เป็นยารับประทานเท่านั้น มีเเอลกอฮอล์ 3-44%
Spirit เป็นสาารละลายใสของสารหอมระเหยง่าย มีเเอลกอฮอล์มากกว่า60%
Collodians เป็นยาน้ำมีลักษณะข้นเหนียว มักใช้ทาบาดเเผลขนาดเล็ก ส่วนประกอบของยามีฤทธิ์ลอกผิวหนัง
Glycerines มีลักษณะข้นเหนียว หรือกึ่งเเข็งประกอบด้วยตัวยากลีเซอรีนไม่น้อยกว่า 30%
ยาถูนวด Liniments เป็นยาน้ำใช้เฉพาะภายนอก
ยาป้าย Paints เป็นยาน้ำที่ประกอบด้วยตัวยาฤทธิ์ต้านการติดเชื้อสมานเเผล
ยาน้ำการะจายตัว
Magma and milk เป็นยาเเขวนตะกอนคลายเจลเเต่สารยามีขนาดใหญ่
Lotion เป็นยาน้ำตะกอนเเขวนชนิดใช้ภายนอก
Gel ตัวยามีขนาดเล็กไม่ละลายน้ำ
Mixture เป็นยาน้ำผสม อาจใส่หรือไม่ใสยาเเขวนตะกอนก็ได้
Emulsion มีทั้งเเบบกินเเละเเบบยาใช้เฉพาะที่ เป็นยาน้ำที่มีส่วนของน้ำมันกระจายอยู่ในน้ำ
ประเภทอื่นๆ
ยาฉีด เป็นเภสัชภัณฑ์ชนิดไร้เชื้อที่บริหารยาโดยการฉีด ตัวยาจะมีความบริสุทธิ์สูง *ห้ามฉีดเข้าหลอดเลือดดำหรือ่องไขสันหลัง
ยาทาผิวหนัง เป็นยาใช้เฉพาะที่ อาจเป็นยาน้ำใว ยาน้ำเเขวนตะกอนก็ได้
ยาพ่นฝอย เป็นยาที่เตรียมขึ้นเพื่อหวังผลเฉพาะที่เเละป้องกันฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์
ยาดม เป็นยาที่มีกลิ่นหอมระเหย ใช้สูดดมเพื่อบรรเทาอาการวิงเวียน
ประเภทของเเข็ง
เเคปซูล มีเจลาตินเป็นปลอดหุ้ม เพื่อกลบรสขม
ยาเม็ด
ยาเม็ดเคลือบ เพื่อให้ออกฤทธิ๋ที่ลำไส้ ป้องกันการเเตกตัวเเละระคายเคืองที่กระเพาะอาหาร
ยาเม็ดไม่ได้เคลือบ
ยาอมใต้ลิ้น = เป็นยาที่ถูกดูดซึมได้ดีในเยื่อบุในช่องปากเข้าสู่กระแสโลหิตโดยตรงยาวจึงออกฤทธิ์เร็วและไม่ถูกทำลายโดย กระเพาะอาหาร
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว = ต้องเคี้ยวก่อนยาถึงจะออกฤทธิ์ได้ดี
ยาอม = อมแก้เจ็บคอประกอบด้วยยาฆ่าเชื้อและยาทำลายเชื้อผสมน้ำตาลให้มีรสชาติน่ารับประทาน
ยาผงเดือดฟู่ = เป็นยาที่ละลายน้ำง่าย
ยาเหน็บ = เป็นยาที่เตรียมขึ้นเพื่อใช้สอดเข้าไปในช่องเปิด
ประเภทกึ่งเเข็ง
ขี้ผึ้ง เป็นยาเตรียมที่ใช้ทาผิวหนังเเละเยื่อเมือกเพื่อลดการเติบโของเเบคทีเรีย
ครีม เป็นยาน้ำเเขวนตะกอนทีี่มีความเข้มข้นมากใช้สำหรับการป้องกันการติดเชื้อ
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์ Pharmacokinetic
เกี่ยวกับการเป็นไปของยาเมื่อเข้าสู่ร่างกาย
ได้เเก่
การกระจายตัวของยา Drug distribution
การกระจายตัวของยาขึ้นอยู่กับ
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสมา
โมเลกุลของยาบางชนิดสามารถรวมตัวได้อย่างหลวมๆกับ พลาสม่าโปรตีนการรวมตัวของยากับ Plasma โปรตีนส่งผลลดการกระจายตัวของยาเพราะยาที่รวมตัวกับโปรตีนจะมีขนาดใหญ่ไม่สามารถผ่านผนังหลอดเลือดฝอยระยองบริเวณที่ออกฤทธิ์ได้ทำให้มียาบางส่วนถูกกับเก็บไว้ในกระแสเลือด
ความสามารถในการ ผ่านเข้าสมองและรก
บางส่วนของสมองมีblood brain barrier จะไม่ยอมให้ยายผ่านได้มีหน้าที่ป้องกันระบบประสาทส่วนกลางที่มีคุณสมบัติละลายไขมันในเลือดได้ดีเท่านั้นจึงจะสามารถผ่าน blood brain barrier
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
ยาแต่ละชนิดที่ละลายในไขมันได้ดีจะสามารถกระจายตัวไปยังอวัยวะเป้าหมายได้ดีกว่ายาที่ละลายในไขมันน้อย
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
หลังจากยาถูกดูดซึมแล้วยายจะเข้าไปสู่ภาวะที่มีการไหลเวียนของเลือดสูงได้อย่างรวดเร็วส่วนการนำส่งยาไปยังอวัยวะในช่องท้องกล้ามเนื้อและไขมันจะเกิดได้ช้ากว่า
การเเปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนเเปลงยา
Drug metabolism , Drug biotransformation
การเเปลสภาพยามีความสำคัญ 2ประการ
กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา
ยาบางชนิดยังไม่สามารถออกฤทธิ์ได้หลังให้ยา จำเป็นต้องถูกเปลี่ยนโครงสร้างทาเคมี
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
การเเปรสภาพยาช่วยให้ยสมีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดีขึ้นเพื่อง่ายต่อการขัยทางไต
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนเเปลงยา
เอนไซม์ที่อยู่ใน ไซโตพลาสซึม
ในร่างกายมีเอนไซม์
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนเเปลงเเบ่งเป็น 2 ขั้้นตอน
Phase I reaction
1 more item...
Phase II reaction
1 more item...
ยาที่เกิดปฏิกิริยาที่เร็วกว่าอาจทำให้ endogenous substratesในร่างกายหมดไป ส่งผลให้ยาอื่นที่ต้องใช้endogenous substrates ชนิดเดียวกันเกิดปฏิกิริยารวมกันได้ช้าหรือไม่เกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่อ Drug metabolism
สิ่งเเวดล้อม
อายุ
พันธุกรรม
ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
ในขณะที่บางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์ คือที่สามารถลดหรือยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ cytochrome p450 ในตับส่งผลในกรณีให้ยาที่มีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์หากให้ยาร่วมกับยาชนิดอื่น
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนียวนำเอนไซม์คือยาบางชนิดสามารถเพิ่มการสังเคราะห์เอนไซม์ cytochrome p450-dependent drug-oxidizing ในตับได้
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย Drug absorption
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
เกี่ยวกับตัวยา
วิธีการผลิตยา เเละรูปแบบยา
ขนาดยาที่ให้ (Dosage)
ขนาดโมเลกุลของยา
คุณสมบัติในการละลายในไขมัน ยาที่ละลายในไขมันได้ดีจะผ่านเข้า cell membrane ได้ดี เเละดูดซึมได้ดี
เกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
6 more items...
พยาธิสภาพของร่างกาย
สภาวะทางสรีรวิทยาเเละอารมณ์ของผู้รับยา
การได้รัยยาเเละอาหารอื่นร่วมด้วย
การดูดซึมยา หมายถึง อัตราเเละปริมาณที่ถูกนำเข้าสู่กระเเสเลือด
Bioavailability หมายถึง สัดส่วนของยาที่ไม่ถูกเปลี่ยนที่ถูกนำเข้าสูกระเเสเลือด
การขับถ่ายยา Drug excretion
ร่างกานสามารถกำจัดยาออกได้ทางไต ตับ น้ำดี เเละปอดยาอาจถูกกำจัดออกจากร่างทั้งในรูปแบบที่ไม่ถูกเปลี่ยนหรือถูกเปลี่ยนเเปลงก็ได้
อวัยวะหลักในการกำจัดยาคือ ไต
คำสำคัญ
ค่าครึ่งชีวิต Half-life
loading dose ขนาดยยาที่ให้ครั้งเเรกเพื่อให้ถึงระดับยาที่ต้องการในพลาสมา
onset ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการ
Duration of action ระยะเวลาที่เริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการจนถึงหมดฤทธิ์ที่ต้องการ
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ receptor
Chemical action
Physical action
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
ตัวรับ receptor
Agonist ยาที่จับกับreceptorเเล้วสามารถทำให้เกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Partial agonist ยาที่จับกับreceptorเเล้งออกฤทธิ์เพียงบางส่วน
Antaginoist ยาที่จับกับ receptor เเล้วสามารถลดหรือบดบังฤทธิ์ของ agonist ในการจับกับ receptor
คำสำคัญ
Efficacy ความสามารถของยาที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
Potency ความเเรงของยา
Affinty ความสามารถของยาในการเข้าจับกับ receptor
เกี่ยวกับการออกฤทธิ์ต่อร่างกาย
ระดับความปลอดภัยของยา
การเเปรผันของการตอยสนองต่อยา
Hyperactivitty
Hypercensitivity
Hyporeactivity
Tolerance
Idiosyncrasy
Tachyphylaxis
Placebo effect
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
มี9 ประเภท
ยาใช้ภายนอก หมายความว่ายาแผนปัจจุบันและยาแผนโบราณที่มุ่งหมายสำหรับใช้ภายนอกทั้งนี้ไม่รวมถึงยาเฉพาะที่
ยาเฉพาะที่ = ยาแผนปัจจุบันและยาแผนโบราณที่มุ่งหมายสำหรับใช้เฉพาะที่กับผิวหนัง หู ตา จมูก ปาก ช่องคลอด ท่อปัสสาวะและทวารหนัก
ยาควบคุมพิเศษ = ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาควบคุมพิเศษ
ยาสามัญประจําบ้าน = ยาแผนปัจจุบันโดยยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย = ยาแผนปัจจุบันและยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ หมายความว่า ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่ผลิตขึ้นเสร็จในรูปต่างๆทางเภสัชกรรม
ยาแผนโบราณ = ยาที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือบำบัดโรคสัตว์
ยาสมุนไพรหมายถึงยาที่ได้จากพฤกษาชาติสัตว์ ซึ่งมิได้ปรุงหรือแปรสภาพ
ยาแผนปัจจุบัน = ยาที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการประกอบวิชาขีพเวชกรรมประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันโดยการบำบัดโรคสัตว์
เภสัชตำรับยา
เเบ่งเป็น
ประโยชน์ในการรักษาเป็นวิธีแบ่งประเภทของยาที่นิยมใช้กันมากที่สุดและจะใช้ร่วมกับการแบ่งยาตามกลไกการออกฤทธิ์ทางกายวิภาคด้วย
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
เเหล่งที่มาของยา หรือคุณสมบัติทางเคมีและเภสัชวิทยาของยา
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา (Generic name)
แบ่งเป็นกลุ่มๆ เช่น ยานอนหลับ ยาแก้ปวด ลดไข้ ยาแก้อักเสบ ยาถ่าย ชื่อยาที่รวมอยู่ในกลุ่มจะมีฤทธิ์เหมือนกัน เช่น แอสไพริน หรือ acetylsalicylic acid เป็นยาเเก้ปวดลดไข้
เรียกชื่อตามการค้า (trade name)
เป็นชื่อที่บริษัทผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายยาเป็นผู้ก่อตั้งและขอจดทะเบียนไว้กับกระทรวงสาธารณสุขมากตั้งชื่อยาให้น่าสนใจจำง่ายเช่นยาในกลุ่ม acetaminophen มีชื่อทางการค้าเช่น sara
เรียกตามสูตรเคมี (Chemical name)