Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ประเภทของยา
การรักษาโรคปัจจุบัน
ยาใช้ภายนอก
ยาใช้เฉพาะที่
ยาควบคุมพิเศษ
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ
ยาแผนโบราณ
ยาสมุนไพร
ยาแผนปัจจุบัน
แบ่งตามเภสัชตำรรับ
ประโยชน์ในการรักษา
กลไกลการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
แหล่งที่มาของยา หรือคุณสมบัติทางเคมี และเภสัชวิทยาของยา
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากสัตว์
เช่นอินซูลินสกัดจากตับอ่านของวัว
จากแร่ธาตุ
จากพืข
หากไม่มีการแปลรูปจะเรียกว่า ยาสมุนไพร
จากการสังเคราะห์
การเรียกชื่อยา
เรียกตามชื่อสามัญยาหรือตัวยา เำืำพรแ ืฟทำ
เรียกชื่อตามการค้า trad name
เรียกตามสูตรเคมี
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
รูปแบบที่เป็นของแข็ง (Solid form)
ยาแคปซูล (Capsule)
ยาเม็ด (Teblet)
ยาเม็ดแบบเคลือบ
ยาเม็ดแบบไม่เคลือบ
ยาอมใต้ลิ้น (Sublingual)
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาอม (Lozenge)
ยาฝงเดือดฟู่ (Efferveres)
ยาผง (Pulvers)
ยาเหน็บ (Suppositories)
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยากลั้วคอ
ยาอมบ้วนปาก
ยาจิบ
มีลักษณะเหนียวหนืดเล็กน้อย เช่น ยาจิบแก้เจ็บคอ
ยาหยอดจมูก
บรรเทาอาการคัดจมูก
ยาน้ำเชื่อม
ยาหยอดหู
ยาน้ำใส
ของแข็งหรือของเหลวที่ผสมในน้ำบรอสุทธิ์
ยาสวนล้าง
สำหรับล้างแผล
น้ำปรุง
เป็นสารละลายและอิ่มตัวของน้ำมันหอมระเหย
ยาสวนน้ำทวารหนัก
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช่น้ำ
ยาโคโลเดียน
มีลักษณะข้นเหนียว
ยากลีเซอริน
ทำให้ผิวหนังอ่อนนุ่ม
ยาสปริริต
เป็นสารละลายใสหอมระเหยง่าย
ยาถูนวด
ยาอิลิกเซอร์
เป็นสารละลายใสชนิดไฮโดรแอลกอฮอล์
ยาป้าย
ออกฤทธิ์ต้านการติดเชื้อ
ยาน้ำกระจายตัว
แมกมาและมิลค์
มิกซ์เจอร์
ยาน้ำผสม
โลชั่น
อิมัลชั่น
ยาน้ำที่มีส่วนผสมของไขมันที่กระจายอยู่ในน้ำ
เจล
รูปแบบกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง
ใช้ทาเพื่อลดการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
ครีม
ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนัง
ยาพ่นฝอย
ยาฉีด
ไม่ผ่านทางเดินอาหาร
ห้ามฉีดเขเาหลอดเลือดดำหรือช่องไขสันหลัง
ยาดม
ข้อดี ข้อเสียของการใช้เภสัชภัณฑ์ในวิถีทางต่างๆ
ยาชนิดรับประทาน
ข้อดี
สะดวก ปลอดภัย ราคาถูก
หากเกิดอันตรายจะไม่รุนแรง
เมื่อเกิดพิษสามารถทำให้อ๊วก หรือล้างท้องได้
ข้อเสีย
ใช้ไม่ได้กับผู้ป่วยที่อาเจียนหรือเสียสติ
อาจทำให้กระเพาะปัสสาวะเป็นแผล
ไม่น่ารับประทาน
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อดี
ใช้กับคนที่หมดสติได้
ออกฤทธิ์เร็ว ไม่ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร
ฉีดทีละมากๆได้ แต่ต้องฉีดเข้าช้าๆ
เหมาะกับยาที่เป็นสารน้ำ
ข้อเสีย
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ราคาแพง
เกิดพิษง่าย รวดเร็ว และรุนแรง
แก้ไขยากเมื่อเกิดพิษ
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี
ยาออกฤทธิ์ทีละช้าๆ และได้นาน
สามารถรัดเหนือบริเวณที่ฉีดยา เมื่อเกิดอาการแพ้ยาฉับพลัน
ข้อเสีย
ใช้ได้ไม่เกิน 2ml
อาจจะระคายเคืองได้
อาจทำให้เกิดฝีได้
มีโอกาศติดเชื้อง่าย
ยาชนิดฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี
ดูดซึมเร็ว
มีอาการระคายเคืองน้อย
สามารถใช้กับยาฉีดที่ละลายได้ในน้ำมัน
ข้อเสีย
ใชได้ไม่เกิน 5 ml
อาจทำให้การดูดซึมช้าลง
ยาพ่นฝอย ยาแอโรซอล สูดดม และยาหยอดจมูก หยอดหู
ข้อดี
ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
ยาออกฤทธิ์เร็ว
ข้อเสีย
วิธีใช้ไม่สดวก
ปริมาณยาที่ได้อาจไม่แน่นอน
อาจระคายเคืองกับบริเวณที่ทำการพ่นยา
ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี
ไม่ทำลายกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะ
ไม่ต้องดูดซึมผ่านตับ
ข้อเสีย
ยารสชาติไม่ดี หรืออาจละคายเคืองช่องปาก
ใช้เวลานาน ลำบากตอนพูด
ยาเหน็บ
ข้อดี
ออกฤทธิ์ทั่วร่างกายและเฉพาะที่
เหมาะกับเด็กที่ไม่ยอมรับประทานยา
สำหรับใช้เหน็บช่องคลอด
ข้อเสีย
ไม่สะดวก ราคาแพง
เกิดการติดเชื้อภายในอวัยวะสืบพันธุ์ได้ง่าย
การขับถ่ายยา
การขับถ่ายยาออกจากร่างกาย
ทางตับ
น้ำดี
ทางไต
ทางปอด
ทางน้ำนม
ทางเหงื่อ
ความสำคัญทางเภสัชศาสตร์
Loading dose
onset
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มใช้ยาจนยาออกฤทธิ์
ค่าครึ่งชีวิต
ระยะเวลาที่ทำให้ยาลดเหลือความเข้มข้นแค่ 50เปอร์เซ็น
duration of action
ระยะเวลาตั้งแต่ยาออกฤทธิ์จนหมดฤทธิ์