Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน (Health out comes and Unit cost), ศศิธร…
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ และ ต้นทุน
(Health out comes and Unit cost)
สภาวะสุขภาพ
WHO (1946)
“สภาพของการมีชีวิต ทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้
เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น”
ทางเลือกและการตัดสินใจ
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
การวินิจฉัยเบื้องต้น
การวินิจฉัยโรคที่แน่นอน
การรักษา : ยา หัตถการ
การส่งตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมทางห้องปฏิบตัิการและรังสีวิทยา
คำถามที่ต้องการคำตอบ
EFFICACY
EFFECTIVENESS
คุ้มกับต้นทุน
หรือไม่
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ไม่ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง
“ประสิทธิภาพเชิงเทคนิค (Technical
efficiency)”
สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต่ำที่สุด
“ความคุ้มค่า (Cost effectiveness)”
สร้างผลผลิตตามชนิดและปริมาณที่คนท้งัหลายให้คุณค่าสูงที่สุด
“ประสิทธิภาพในการจัดสรร (Allocative
efficiency)”
EQUITY
What
FFICIENCY
Who
Whom
มีหลายทางเลือกในการดำเนินการ
การประเมินบริการทางสุขภาพ
What amount
Keys to adding value
Save time
Make money
Improve outcomes
Assessment and appraisal process
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ Outcomes in economic evaluation
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์เป็นการประเมินระหว่าง ต้นทุนและผลลัพธ์
การวัดผลทางสุขภาพมีความสำคัยในการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
แหล่งข้อมูลที่ดีของการวัดดผลทางสุขภาพ ?
ทำไมต้องวัดผลลัพธ์
เพื่อคาดคะเน
เพื่อประเมินผลกระทบ
เพื่อประเมินความครอบคลุมด้นสังคมและเศรษฐกิจในการบริการของประเทศ
การประเมินสถานะสุขภาพ
มีความซับซ้อน
และยุ่งยากมากกว่า
โครงการต่าง
และบริการทางการแพทย์มีความแตกต่างกันที่จุดมุ่งหมายและวิธีการ
การวัดสุขภาพและการประเมินค่าสุขภาพ
ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
Measuring health
การวัดผลลัพธ์สุขภาพสามารถรถวัดได้หลากหลาย โดยเน้นการวัดที่ดูการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ
Valuing health
การให้ค่าสุขภาพ
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก (Clinical outcome type)
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน
ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ
ค่าสัญญาณทางกายภาพ
ข้อดี
มีค่าที่ชัดเจน
สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
สามารถวัดถึงค่าใช้ที่เกิดขึ้นในระยะสั้น
ข้อเสีย
ไม่ได้บ่งชี้ถึงผลลัพธ์สุดท้าย
อาจส่งผลที่คลาดเคลื่อนในด้านนโยบาย
ผลลัพธ์สุดท้าย
ความรู้สึก (Feeling)
การปฏิบัติหน้าที่ (Function)
การรอดชีวิต (Survival)
ข้อเสีย
อาจจะนานเกินไปในการเฝ้าติดตามผู้ป่วย
ค่าใช้จ่ายสูง
ข้อดี
เป็นตัวแทนที่สะท้อนถึงการ
เปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์สุดท้าย
ครอบคลุมผลการรักษา
มีความชัดเจนด้านนโยบาย
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ
(Health care cost)
มุมมองต้นทุน
ของฟรีไม่มีในโลก
ปัจจัยนำเข้าการผลิตบริการสุขภาพ
ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน (คน อุปกรณ์ วิธีการ)
ต้นทุนที่อยู่ในรูปของตัวเงิน (งบประมาณด้านการจัดบริการสุขภาพ)
ผู้จ่ายเงิน (Payer or Purchaser perspective) ค่าใช้จ่ายที่ขอเบิกจ่ายจากผู้จ่าย
ผู้ให้บริการ (Hospital or provider perspective) ต้นทุนที่แท้จริงในการให้บริการ (โดยไม่คำนึงว่าเรียกเก็บเท่าไร)
ผู้ป่วย (Patient perspective) จำนวนเงินที่ผู้ป่วยต้องจ่ายเพื่อรับบริการ และต้นทุนอื่นๆที่เกิดขึ้น
มุมมองด้านสังคม (Societal perspective) ต้นทุนโดยรวมทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับส่วนต่างๆในสังคม ทั้งต้นทุนด้านการรักษาและต้นทุนไม่ใช่การรักษา (All medical and nonmedical costs)
ประเภทของต้นทุน (Cost classification)
ต้นทุนที่จับต้องได้ (Tangible costs) vs. ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible costs)
ต้นทุนทางการแพทย์ (Medical costs) vs
ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่การแพทย์ (Non-medical costs)
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital costs) vs.
ต้นทุนดำเนินกําร (Operational [Recurrent] costs)
ต้นทุนทางตรง (Direct costs) vs.
ต้นทุนทํางอ้อม (Indirect costs)
ประเภทของการศึกษาต้นทุน (Unit cost analysis type)
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost: FC)
เงินเดือน
ค่ารับจ้างเหมาจ่ายรายเดือน
ต้นทุนผันแปร (Variable cost:VC)
ค่ายา
ค่าน ้ายาห้องปฏิบัติการ
ต้นทุนรวม (Total cost: TC หรือ Full cost)
ต้นทุนเฉลี่ย (Average cost)
Cost Centre Approach
ขั้นตอนในการศึกษาทุน
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน
(Cost Centre Identification & Grouping)
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
(Direct Cost Determination)
ต้นทุนค่าวัสดุ
(MATERIAL COST)
ต้นทุนค่าลงทุน
(CAPITAL COST)
ต้นทุนค่าแรง
(LABOUR COST)
เงินเดือน
สวัสดิการ
(Fringe Benefit)
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
(Allocation criteria)
หาต้นทุนรวมทั้งหมด
(Full Cost Determination)
หาต้นทุนต่อหน่วย
(Unit Cost)
Activity Approach (Activity based costing: ABC)
ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity-Based Costing)
หน่วยต้นทุนกิจกรรม
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
จ่ายยา
ฝากครรภ์
กิจกรรมการตรวจตา
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน: Cost Centre Approach
วิเคราะห์และระบุหน่วยกิจกรรม
(Determine activity analysis unit)
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
(Direct Cost Determination)
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
(Allocation criteria)
หาต้นทุนรวมทั้งหมดของแต่ละกิจกรรม
(Full Activity Cost Determination)
หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม
(Activity unit Cost)
การคำนวณต้นทุนทางลัด
ปัจจัยที่ส่งผลการวิเคราะห์ต้นทุนแตกต่างกัน
เก็บรวบรวมข้อมูลรายจ่ายทุกหมวดตลอดปี
คำนวณต้นทุนต่อหน่วยบริการ = ข้อมูลรายจ่ายทั้งหมด / จำนวนผู้รับบริการ
ประโยชน์ของการศึกษาต้นทุน
ทำให้มีข้อมูลและสามารถนำเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด และมิติต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ จากการเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่จะได้
ใช้คำนวณอัตราคืนทุน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวางนโยบายว่า กิจกรรมใด ควรมีอัตราคืนทุนเท่าไรจึงจะเหมาะสม
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานส้าหรับผู้บริหาร
ศศิธร รื่นโยธา 623601070 ห้อง A เลขที่ 69