Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
ยา (Drug) ตามพระราชบัญญัติยา
ใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา
เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์และกึ่งสำเร็จรูป
วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายา
สำหรับเกิดผลแก่สุขภาพ
เภสัชกรรม
ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียยา ผสมยา จ่ายยา
เภสัชวิทยา
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติและฤทธิ์
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาใช้ภายนอก
ห้ามใช้ภายใน
ยาใช้เฉพาะที่
มุ่งหมายสำหรับใช้เฉพาะที่ ผิวหนัง หู ตา ปาก จมูก
ยาควบคุมพิเศษ
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาแดง ยาหมอง
ยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ
บรรจุในภาชนะหรือหับห่อหรือผนึกไว้ มีฉลากครบถ้วน
ยาแผนโบราณ
ใช้การประกอบโรคศิลปะและแผนโบราณ
ยาสมุนไพร
จากพฤกษชาติ สัตว์ แร่
ยาแผนปัจจุบัน
ใช้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
แบ่งตามเภสัชตำรับ
ประโยชน์ในการรักษา
ใช้กลไกการออกฤทธิ์ เช่น ยาแแก้ปวด ลดไข้
กลไกการออกฤทธิ์
ยาระบาย ทำให้ลำไส้บีบรัดตัวเพิ่มขึ้น
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบการไหลเวียนเลือด
แหล่งที่มา
ไอโอดีนจากแร่ธาตุ กลัยโคไซด์จากพืช
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
ของเหลว
ยาน้ำสารละลายที่ใช้น้ำละลาย
ยากลั้วคอ
การฆ่าเชื้อ ป้องกันกันติดเชื้อในลำคอ ห้ามกลืน
ยาอมบ้วมปาก
ทำความสะอาดดับกลิ่นปาก ใช้ระงับเชื้อ ยาชา
ยาจิบ
ลักษณะหนืดเล็กน้อย ละลายในน้ำตาล ระงับอาการไอ ขับเสมหะ
ยาหยอดจมูก
ยาน้ำใส แขนวตะกอน
ยาน้ำเชื่อม
สารละลายน้ำตาลเข้มข้น มีความหนืด เหมาะสำหรับเด็ก
ยาหยอดหู
สารละลายใส ใช้พ่นหรือหยอด
ยาน้ำใส
ยาละลายน้ำใส มักเป็นสารที่ไม่ระเหย
ยาสวนล้าง
ละลายชนิดปราศจากเชื้อสำหรับล้างแผล
น้ำปรุง
สารละลายใส อิ่มตัวของน้ำมันระเหย เช่น น้ำมันกุหลาบ การบูร
ยาน้ำสวนทวารหนัก
สารละลายน้ำเกลือ น้ำกลีเซอลีน
ยาน้ำสารสะลายที่ไม่ใช้น้ำ
ยาโคโลเดียน
ยาที่มีฤทธิ์ลอกผิวหนัง เนื้อเยื้อที่ตายแล้ว ใช้รักษาตาปลา
ยากลีเซอริน
ลักษณะข้นเหนียว กึ่งแข็ง ใช้หยอดหู ยาบ้วมปาก
ยาสปริริต
สารหอมระเหย เช่น การบูร
ยาถูนวด
ใช้เฉพาะภายนอก สารสะลายใส ข้นเหลว
ยาอิลิกเซอร์
มีกลิ่นหอม รสหวาน แอลกอฮอล์จำนวน 44 % ผสมน้ำ
ยาป้าย
ติดเชื้อสมานเเผล ระงับการปวด
ยาน้ำกระจายตัว
แมกมาและมิลค์
ยาแขวนตะกอนคล้ายเจล มีขนาดใหญ่
มิกซ์เจอร์
ยาน้ำผสม ไม่ใส่ย่แขวนตะกอดก็ได้
โลชั่น
คาลาไมน์ โลชั้่น
อิมัลชั่น
ยาทาเฉพาะที่ ผสมน้ำมัน กระจายในน้ำ ลักษณะขุ่นเหนียว
เจล
ขนาดเล็กไม่ละลายน้ำ
ประเภทกึ่งแข็ง
ครีม
ใชำสำหรับป้องกันการติดเชื้อ
ขี้ผึ้ง
ใช้ทาผิวหนัง
ของแข็ง
ยาอม
ประกอบด้วยยาฆ่าเชื้อ ผสมน้ำตาลให้มีรสชาติ
ยาผงเดือดฟู่
ละลายน้ำได้ง่าย
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
เคี้ยวก่อนกลืน
ยาผง
ยาผสมที่เป็นผงเก็บได้นาน
ยาอมใต้ลิ้น
ยาที่ดูดซึมได้ดีในเยื่อบุในช่องปาก
ยาเม็ด
ยาไม่เคลือบ
ไม่ได้ป้องกันการแตกตัว
ยาเคลือบ
ป้องกันการแตกตัวของยา
ยาแคปซูล
ยาที่มีเจลตินเป็นปลอกหุ้ม เพื่อกลบรสของยา
ยาเหน็บ
จะละลายเมื่อสอดเข้าร่างกาย
ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนัง
ยาพ่นฝอย
เฉพาะที่ ออกฤทธิ์โดยตรง
ยาฉีด
ไม่มีสารพิษหรือสารที่ดูดไม่ได้ ยาน้ำใส
ห้าม!!ฉีดเข้าหลอดเลือดดำหรืไขสันหลัง
ยาดม
ยาที่มีกลิ่นหอมระเหย
การออกฤทธิ์ของยา
Pharmacokinetic
การกระจายตัวของยา
การแปรสภาพยา
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
การขับถ่ายยา
Pharmacodynamic
ระดับความปลอดภัยของยา
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
ตัวรับ
Antagonist
สามารถลดหรือบดบังฤทธิ์ของ Agonist
Partial agonist
ออกฤทธิ์เพียงบางส่วน
Agonist
สามารถทำให้เกิดฤทธิ์ททางเภสัช
คำสำคัญ
Efficacy
ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
Potency
ของแรงของฤทธิ์ยา
Affinity
ความสามรถของยาในการเข้าจับกับReceptor
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากสัตว์
จากอวัยวะบางส่วนของของสัตว์
ตับ ตับอ่อน ดีหมู ดีวัว
จากแร่ธาตุ
ไอโอดีน ทองแดง น้ำมันเกลือแร่
จากพืช
ราก ใบ ลำต้น เมล็ด เปลือก
จากการสังเคราะห์
ส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์ โดยปฎิกิริยาทางเคมีในห้องปฎิบัติการ