Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนผังมโนทัศน์การพยาบาลอนามัยชุมชน - Coggle Diagram
แผนผังมโนทัศน์การพยาบาลอนามัยชุมชน
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชนและ การวินิจฉัยชุมชน ( Community Assessment and Community Diagnosis )
ขั้นการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
ข้อมูลทุติยภูมิ
ข้อมูลปฐมภูมิ
การกำหนดเป้าหมาย
ประชาชนทั้งหมด ( Census )
การสุ่มตัวอย่าง ( Random Sampling )
เครื่องมือ/วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การทดสอบ ( Test )
การสัมภาษณ์/สัมภาษณ์เชิงลึก
การวัดและประเมิน (Measurement )
การสนทนากลุ่ม
การใช้แบบสบถาม ( Questionnarie )
การสังเกต ( Observation )
การสำรวจ ( Survey )
การวิเคราะห์ข้อมูล ( Data analysis )
ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive Stat
รายได้
ข้อมูลด้านสุขภาพ
ข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคล
lnferential Stat
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวิเคราะหเชิงเนื้อหา ( Content Analysis )
การนำเสนอข้อมูล
แผนภูมิแทง
แผนภูมิวงกลม
ตาราง
กราฟเส้น
text
พีรามิดประชากร
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินภาวะสุขภาพ
ข้อมูลด้านสุขภาพ
ข้อมูลด้านพฤติกรรม
ข้อมูลประชากร
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพ
การจัดลำดับความสำคัญขงปัญหา ( Priority Setting )
ความรุนแรง ( Severity of Problem )
ความยาก-ง่าย ( Ease of Management of Susceptibility )
ขนาดของปัญหา ( Size of Problem )
ความวิตกกังวล ( Community concern )
ขั้นวินิจฉัยชุมชน (Community Diagnosis)
การระบุปัญหา ( Problem Identification )
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
5D
Dead
Disbility
Disease,
Discomfort
Dissatisfaction
กระบวนการกลุ่ม ( Normal Group Process )
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority setting)
ขนาด
ความรุนแรง
ความยากง่าย
ความวิตกกังวล
การระบุสาเหตุ และทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
(Identify Cause of Problem and Web of Causation)
ชนิดของสาเหตุ (Type of Causation)
-สาเหตุทางตรง
-สาเหตุทางอ้อม
ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา (Type of web of causation)
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี (Theoretical Web of causation)
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง (Causal Web of causation)
การวางแผนงานและโครงการ
การเขียนโครงการ
หลักการและเหตุผล ( ทำไมต้องทำ , ทำไปทำไม )
วัตถุประสงค์ ( ทำเพื่ออะไร )
ชื่อโครงการ ( โครงการอะไร, ทำกิจกรรมอะไร )
การเขียนเป้าหมาย ( ต้องชัดเจน )
อะไร
เท่าไหร่
ใคร
เมื่อไหร่
วิธีการดำเนินการ ( ทำอะไร อย่างไร )
เน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม+พึ่งพาตนเอง
มี 3 ระยะ
ระยะดำเนินการ
ระยะประเมินแผล
ระยะเตรียม
ระยะเวลาดำเนินการ ( ทำเมื่อไหร่ )
ระยะดำเนินการ ( ทำที่ไหน )
งบประมาณ ( ได้จากแหล่งใด, ใช้เท่าไหร่ )
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ทำแล้วได้ประโยชน์อะไร)
การประเมินผล ( จะวัดผลอย่างไร )
ครอบคลุม 3 ประการ
การวางแผนเป็นเรื่องของการเตรียมการ
การวางแผนเป็นเรื่องของการการะทำอย่างจงใจ
การวางแผนเป็นเรื่องของการจัดกระทำเพื่อผลในอนาคต
สรุป
ชื่อโครงการไม่ยาวเกินไป ควรบอกว่าโครงการทำอะไร กลุ่มประชากรคือ ทำโครงการที่ใด
หลักการและเหตุผล
ที่มาของปัญหาระดับประเทศ
ที่มาของปัญหาระดับพื้นที่
ที่มาของปัญหาระดับโลก
สาเหตุของปัญหา
ปัญหานันสำคัญให้เราต้องแก้
วัตถุประสงค์
ใคร
ต้องการให้เกิดอะไร
เป้าหมาย
ปริมาณที่ต้องการวัด
ต้องการให้เกิดอะไร
ใคร
ภายในระยะเวลาเท่าไหร่
ระยะเวลาที่ดำเนินโครงการ
วิธีการดำเนินโครงการ
งบประมาณ
การประเมินผล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ