Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
การเรียกชื่อยา
2.เรียกชื่อสามัญทางยาหรือตัวชื่อยา Generic name
แบ่งเป็นกลุ่มๆ
ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ
ยานอนหลับ
3.เรียกชื่อตามการค้า Trade name
ชื่อที่บริษัทผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายยา เป็นผู้ตั้ง ขอจดทะเบียนไว้กับกระทรวงสาธารณะสุข ให้น่าสนใจ จำง่าย
Beramol
Paracetamol
Sara
Tylenol
1.เรียกชื่อตามสูตรเคมี Chemical name
เรียกตามส่วนประกอบทางเคมีของยา
เภสัชภัณฑ์ Pharmaceutical preparations
หรือ ยาเตรียม, Pharmaceutical products
รูปแบบ
2.ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยากลั้วคอ Gargale
ยาอมบ้วนปาก Mouthwash
ยาจิบ Linctuses
ยาหยอดจมูก Nasal preparations
ยาน้ำเชื่อม Syrups
ยาหยอดหู Otic preparation
ยาน้ำใส Solutions
ยาสวนล้าง Irrigation
น้ำปรุง Aromatic water
ยาน้ำสวนทวารหนัก Enemas
ที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาสปริริต Spirits
ยาโคโลเดียน Collodians
ยาอิลิกเซอร์ Elixir
ยากลีเซอริน Glycerines
ยาถูนวด Liniments
ยาป้าย Paints
ยาน้ำกระจายตัว
แมกมาและมิลค์ Magmas and Milk
มิกซ์เจอร์ Mixtures
โลชั่น Lotions
อิมัลชั่น Emulsion
เจล Gels
3.รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง Oiltment
ครีม Paste
1.รูปแบบที่เป็นของแข็ง Solid form
4.ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
5.ยาอม Lozenge และ โทรเซ Troche ใช้อมแก้เจ็บคอ
3.ยาอมใต้ลิ้น Sublingual เป็นยาที่ดูดซึมสู้่กระแสโลหิตได้โดยตรง
6.ยาผงเดือดฟู่ Effervescent power ละลายน้ำง่าย ประกอบด้วย Sodium bicarbonate
2.ยาเม็ด Tablet
ยาเม็ดเคลือบ เพื่อให้ออกฤทธิ์ที่ลำไส้ ป้องกันการแตกตัว
ยาเม็ดไม่ได้เคลือบ เช่น Aspirin Paracetamol
7.ยาผง Plveres
1.ยาแคปซูล Capsule มีเจลาตินเป็นเปลือกหุ้ม เพื่อกลบรสขมของยา
8.ยาเหน็บ Suppositories
4.ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนัง Applications
ยาพ่นฝอย Spray
ยาฉีด Injections
ยาดม Inhalant
ข้อดีและข้อเสียของการให้เภสัชภัณฑ์
ในวิถีทางต่างๆ
4.ยาฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี
สามารถใช้กับยาฉีดที่ละลายได้ในน้ำมัน
ยาดูดซึมได้เร็ว เกิดการระคายเคืองได้น้อย
ข้อเสีย
สามารถให้ยาได้ไม่เกิน 5 มิลลิลิตร
การสะสมยาไว้ที่เนื้อเยื่ออาจทำให้การดูดซึมยาน้อยลง
5.ยาพ่นฝอยยาแอโรซอล สูดดมและ
ยาหยอดจมูก หยอดหู
ข้อดี
ยาจะออกฤทธิ์เฉพาะที่
ออกฤทธิ์เร็ว และสามารถให้ยาได้ด้วยตนเอง
ข้อเสีย
ปริมาณยาไม่แน่นอน
อาจระคายเคืองเยื่อบุทางเดินหายใจและหลอดลม
วิธีการให้ยาไม่สะดวก
3.ยาฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี
การดูดซึมเป็นไปอย่างช้าๆ ให้ยาออกฤทธิ์ได้นานพอควร
ข้อเสีย
สามารถให้ยาได้ไม่เกิน 2 มิลลิลิตร ยามีราคาแพง
ยาบางชนิดระคายเคือง
บริเวณที่ฉีดทำให้เกิดแผล หรือฝีได้
6.ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี
ไม่ถูกทำลายโดยกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ยาถูกดูดซึมและออกฤทธิ์ได้เร็วโดยไม่ผ่านตับ
ข้อเสีย
ใช้เวลานาน ไม่สะดวกในการพูด
ยาบางชนิดรสชาดไม่ดี ยาอาจระคายเคืองเยื่อบุภายในปากก
2.ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดำ
ข้อดี
ใช้ในรายที่หมดสติหรืออาเจียนได้
ออกฤทธิ์เร็ว ไม่ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร
ข้อเสีย
เกิดพิษง่าย รวดเร็ว และรุนแรง ถึงเสียชีวิต ยามีราคาแพง
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย เกิดการทำลายผนังหลอดเลือด หลอดเลือดดำอักเสบ
7.ยาเหน็บ
ข้อดี
ออกฤทธิ์เฉพาะที่และทั่วร่างกาย
เหมาะกับเด็กหรือผู้รัปประทานยายาก
ข้อเสีย
ไม่สะดวกต่อการใช้งาน
สำหรับยาที่ใช้เหน็บช่องคลอดอาจเกิดการติดเชื้อภายในอวัยวะสืบพันธุ์
1.ยารับประทาน
ข้อดี
สะดวก ปลอดภัย ไม่เจ็บ ราคาถูก สามารถให้ด้วยตัวเอง
หากเกิดอันตรายอาการจะไม่รุนแรงและเร็วเท่ายาฉีด
ข้อเสีย
ยาอาจระคายเคืองกระเพาะอาหาร
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่อาเจียนหมดสติ
กลิ่น สี ไม่น่ารับประทาน
แหล่งกำเนิดยา
1.จากการสังเคราะห์
โดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมีในห้องปฏิบัติการ
เกลือของเหล็ก ใช้บำรุงโลหิต
อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ ใช้เป็นยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
2.จากธรรมชาติ
2.จากสัตว์ สกัดจากอวัยวะบางส่วน
ยาอินซูลินสกัดมาจากตับอ่อนของวัว
3.จากพืช
ได้จากส่วนต่างๆนำมาปรุงเป็นยาโดยไม่เปลี่ยนแปลงรูป เรียก ยาสมุนไพร
ใบมะขามแขกใช้เป็นยาระบาย
เมล็ดพริกไทยใช้เป็นยาขับลม
สกัดเอาสารที่มีอยู่ในพืชออกมาทำให้บริสุทธิ์ ซึ่งสามารถกำหนดขนาดในการรักษาได้ เรียกว่า สารสกัดบริสุทธิ์
มอร์ฟีนและโคเดอีนของฝิ่น ใช้เป็นยาแก้ปวด
คาร์เฟอีน ได้จากใบชาและเมล็ดกาแฟ ใช้เป็นยากระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
1.จากแร่ธาตุ
ไอโอดีน ทองแดง น้ำมันเกลือแร่
ประเภทของยา
1.ยารักษาโรคปัจจุบัน
4.ยาควบคุมพิเศษ
5.ยาใช้ภายนอก
3.ยาอันตราย
6.ยาใช้เฉพาะที่
2.ยาแผนโบราณ
7.ยาสามัญประจำบ้าน
1.ยาแผนปัจจุบัน
8.ยาบรรจุเสร็จ
9.ยาสมุนไพร
2.แบ่งตามเภสัชตำรับ
2.ประโยชน์ในการรักษา อาจใช้ร่วมกับการแบ่งยาตามกลไกการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ยาแก้ไข้
ยานอนหลับ
ยาลดกรด
3.กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ยาระบายหรือยาถ่ายทำให้ลำไส้บีบรัดตัวเพิ่มขึ้น
1.ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบไหลเวียนเลือด
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินปัสสาวะ
4.แหล่งที่มาของยาหรือสมบัติทางเคมี และเภสัชวิทยของยา
ไอโอดีนจากแร่ธาตุ
ความหมาย
ความหมายของเภสัชวิทยา Pharmacology
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยาและฤทธิ์หรือผลต่างๆของยาที่มีต่อร่างกาย
ความหมายของเภสัชกรรม Pharmacy
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยา ผสมยาและจ่ายยาเพื่อรักษา
ความหมายของยา Drug
2.วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
3.วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
1.วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
4.วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการกระทำที่ใดๆของร่างกาย ไม่หมายความถึง
ใช้เป็นอาหาร เครื่องกีฬา เครื่องมือเครื่องสำอาง
ใช้สำหรับในห้องวิทยาศาสตร์สำหรับการวิจัย
ใช้ในการเกษตรหรืออุตสาหกรรม
ความหมายของเภสัชภัณฑ์ Pharmaceutical preparations
หรือยาเตรียม, Pharmaceutical products
ยารักษาโรคซึ่งถูกแต่งเป็นรูปแบบต่างๆ เพื่อความเหมาะสมในการใช้ยาได้สะดวก และได้ผลดีในการรักษาโรค
หลักการทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจนลศาสตร์ Phamakinetic
เภสัชจลนศาสตร์เกี่ยวข้องกับการเป็นไปของยาเมื่อเข้าสู่ร่างกาย
2.การกระจายตัวของยา Drug distribution
3.การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
4.ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
2.คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
5.การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
เซลล์ไขมัน
กระดูกและฟัน
1.ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ หลังจากดูดซึมแล้วยาจะไปสู่อวัยวะที่มีปริมาณการไหลเวียนของเลือดสูงได้อย่างรวดเร็ว
3.การแปลสภาพยา Drug metabolism หรือการเปลี่ยนแปลงยา Drug biotransformation
การแปรสภาพยา
1.กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา บางชนิดจะต้องถูกเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีก่อนถึงจะสามารถออกฤทธิ์
2.สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา การแปรสภาพยาช่วยให้ยามีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดีขึ้น ง่ายต่อการขับออกทางไต
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่เปลลี่ยนแปลงยา
I Phase I reaction: emzyme จะเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของยาโดยอาศัยกระบวนการ oxidation reduction hydrolysis เป็นการแปรสภาพยาโดยเอนไซม์ cytochrom P450 ขับถ่ายออกจากร่างกายหรือเข้าสู่Phase II reaction
II Phase II reaction:หรือยา metabolite จาก phase I ที่ไม่มีความเป็น polar มากพอที่จะถูกขับออกทางไตจะต้องถูกทำให้ละลายน้ำได้ดีโดยรวมตัวกับ endogenous compound ในตับ
ปัจจัยที่มีผลต่อ Drug metabolism
สิ่งแวดล้อม
อายุ
พันธุกรรม
ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด matabolism
2.ในขณะที่ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์
3.ความเจ็บป่วยและความสามารถในการทำงานของตับ
1.ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงยาและทำลายยาอื่นอย่างรวดเร็วและมากขึ้น
การขับถ่ายยา
ไต ตบน้ำดี และปอด
น้ำนม และเหงื่อ
1.การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย Drug absorption
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
2.วิธีการผลิตยา และรูปแบบยา
3.ขนาดยาที่ให้
1.ขนาดโมเลกุลของยา
4.คุณสมบัติในการละลายในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวผู้ป่วย
1.วิธีการบริหารยา เป็นปัจจัยที่กำหนดอัตราและความสามารถในการดูดซึมยาเข้ากระแสเลือด
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
ช่วยให้ยาสามารถดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยได้รวดเร็วและดี
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบหายใจ
อยู่ในรูปของก๊าซและของเหลวที่ระเหยได้ดีจะถูกซึมเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดได้ง่าย
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
พบว่า pH ของ medium มีผลต่อการดูดซึมยา
2 more items...
ข้อเสีย
1 more item...
การให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนัง,กล้ามเนื้อ,หลอดเลือดดำ
การให้ยาดูดซึมผ่านทางผิวหนัง ขึ้นอยู่กับความหนาบางของผิวหนัง
การให้ยาแบบบเหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด
2 more items...
2.พยาธิสภาพของร่างกาย
หัวใจล้มเหลว ทำให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆได้ลดลง มีผลลดการดูดซึมยาทางหลอดเลือดได้
3.สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
การนอนทำให้ยาไปยังกระเพาะอาหารช้าลง
4.การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วมด้วย อาหารอาจมีผลต่อการดูดซึมยาบางชนิด
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
Pharmacodynamic
การออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกาย
กลไกการออกกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
1.ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับ Receptor
Chemical action
ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
Physical action
ยาระบาย
ยาลดการดูดซึมในกระเพาะอาหาร
2.ออกฤทธิ์โดยจับกับ Receptor
2.Agonist
ยาที่จับกับ Receptor แล้วสามารถทำให้เกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
3.Antagonist
ยาที่จับกับ Receptor แล้วสามารถลดหรือบดบังฤทธิ์ของAgonist กับ Receptor
1.ตัวรับ Receptor
เป็นองค์ประกอบของเซลล์ซึ่งอาจพบได้ที่ผนังเซลล์ cytoplasm โดยReceptor มีคุณสมบัติที่จะจดจำ และจับกับสารที่มีลักษณะโครงสร้างจำเพาะเจาะจงแล้วทำให้การทำงานของเซลล์นั้นๆเปลี่ยนแปลง
4.Partial agonist
ยาที่จับกับ Receptor แล้วออกฤทธิ์บางส่วน
ระดับความปลอดภัยของยา
Therapeutic index
การหาระดับปลอดภัยมักจะทำการทดลองผ่านสัตว์ทดลอง เช่น หนูแรท หรือ หนูเมาส์
TI = LD50/ ED50
ยาที่มีค่า therapeutic index ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ
digoxin
litium
ยาที่มีค่า therapeutic index สูงจะมีความปลอดภัยในการใช้สูง
การแปรผันของการตอบนองต่อยา
สาเหตุการตอบสนองต่อยาที่ต่างกัน
2.มีความแตกต่างกันในความเข้มข้นของ endogenous receptor ligands
3.มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนหรือการทำงานของ receptor
1.มีการเปลี่นรแปลงของยาที่จะไปถึง receptor ซึ่งขึ้นอยู่กับ pharmacokinetic ของยา
4.มีการเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบของอวัยวะที่เกิดขึ้นการตอบสนองจากการกระตุ้น receptor
รูปแบบแต่ละชนิด
4.Hypersensitivity การแพ้ยาจากร่างกายมี antibody ต่อต้าน
5.Tolerance เป็นการดื้อหรือ ทนฤทธิ์ของยา เกิดจากการได้รับยาซ้ำๆ
3.Hyperactivity การตอบสนองต่อยาที่ มากกว่าปกติ
6.Tachyphylaxis การดื้อยา เกิดขึ้นรวดเร็วเมื่อรับยาเพียง 2-3 ครั้ง
2.Hyporeactivity การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติ
7.Placebo effect ฤทธิ์หลอก
1.Idiosyncrasy การตอบสนองที่ต่างจากปกติ