Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
วัตถุที่รองรับไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา ป้องกันโรค ความเจ็บป่วย
วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีหรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
วัตถุมุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการกระทำหน้าที่ใดๆของร่างกาย
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
เภสัชวิทยา pharmacology
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุฯสมบัติของยาและฤทธิ์ของยาหรือผลต่างๆของยาที่มีผลต่อร่างกาย รวมทั้งผลที่ร่างกายกระทำต่อยา
เภสัชกรรม pharmacy
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยา ผสมยา จ่ายยาเพื่อรักษา
ประเภทยา
ยารักษาโรคในปัจจุบัน
ยาใช้ภายนอก
ยาใช้เฉพาะที่
ยาควบคุมพิเศษ
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ
ยาแผนโบราณ
ยาสมุนไพร
ยาแผนปัจจุบัน
แบ่งตามเภสัชตำรับ
ประโยชน์ในการรักษา
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
แหล่งที่มา คุเณสมบัติ เภสัชวิทยาของยา
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
พืช
สัตว์
แร่ธาตุ
จากการสังเคราะห์
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา generic name
เรียกชื่อตามการค้า trade name
เรียกชื่อตามสูตรเคมี chemical name
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
รูปแบบของแข็ง solid from
ยาเม็ด
เม็ดเคลือบ
เม็ดไม่ได้เคลือบ
ยาอมใต้ลิ้น
ยาแคปซูล
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาอม
ยาผงเดือดฟู่
ยาผง
ยาเหน็บ
รูปแบบของเหลว
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยาน้ำเชื่อม
ยาจิบ
ยาน้ำใส
ยากลั้วคอ
ยาอมบ้วนปาก
น้ำปรุง
ยาหยอดจมูก
ยาสวนล้าง
ยาน้ำสวนทวารหนัก
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาอิลิกเซอร์
ยาสปริริต
ยาโคโลเดียน
ยากลีเซอริน
ยาถูนวด
ยาป้าย
ยาน้ำกระจายตัว
แมกมาและมิลล์
มิกซ์เจอร์
โลชั่น
อิมัลชั่น
เจล
ประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง
ครีม
ประเภทอื่นๆ
ยาฉีด
ยาทาผิวหนัง
ยาพ่นฝอย
ยาดม
ข้อดีข้อเสียของการให้เภสัชภัณฑ์ในวิถีทางต่างๆ
ยาอมใต้ลิ้น
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็วโดยยาไม่ผ่านตับ
ไม่ถุกทำลายโดยน้ำกรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ข้อเสีย
รสชาติไม่ดีระคายเคืองปาก
ใช้เวลานานไม่สะดวกในการพูด
ยาพ่นฝอย
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็วสามารถให้ยาได้ด้วยตนเอง
ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย
วิธีการให้ยาไม่สะดวกระคายเคืองทางเดินหายใจอาจติดเชื้อ
ยาเหน้บ
ข้อดี
เหมาะกับเด็ก
ออกฤทธิ์เฉพาะที่และทั่วร่างกาย
ยาเหน็บช่องคลอดจะออกฤทธิ์เฉพาะที่
ข้อเสีย
ไม่สะดวกต่อการใช้ ราคาแพง
การเกิดการติดเชื้อภานในของอวัยวะสืบพันธ์
ยาชนิดฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ข้อดี
ดูดซึมเร็ว ระคายเคืองน้อย
สามารถใช้กับยาฉีดที่ละลายไ้ในน้ำมัน
ข้อเสีย
ให้ยาได้ไม่เกิน 5 มิลลิลิตร
เกิดการสะสมยาไว้ที่เนื้อเยื่อการดุดซึมช้าลง
ยาชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อดี
ออกฤทธิ์เร็ว
ใช้ในรายที่หมดสติหรืออาเจียนได้
ยาฉีดที่มีปริมาณมากสามารถให้โดยวิธีนี้ได้
ข้อเสีย
เกิดพิษง่ายรวดเร็วรุนแรง
ติดเชื้อง่าย
ก้อนยาอาจอุดตันเกิดซัก เม็ดเลือแดงแตก
กรณีเกิดพิษไม่สามารถแก้ไขได้
เกิดembolismหากไม่ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยา
ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ข้อดี
ออกฤทธิ์นาน
ข้อเสีย
ให้ยาไม่เกิน 2 มิลลิลิตร ราคาแพง
เกิดแผลหรือฝีบริเวณที่ฉีด
ยาชนิดรับประทาน
ข้อดี
สะดวก ปลอดภัย ราคาถูก
หากเกิดอันตรายจากการรับประทานยาส่วนใหญ่อาการจะไม่รุนแรงและเร็วเท่ายาฉีด
ข้อเสีย
ไม่เหมาะกับยาที่ดูดซึมผ่านระบบทางเดินอาหาร
กลิ่นสีไม่ชวนรับประทาน
ยาอาจระคายเคืองกระเพาะ
ยาอาจถูกทำลายโดยน้ำกรดและน้ำย่อยในกระเพาะ
ห้ามใช้ในผู้ป่วยอาเจียน หมดสติ
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์
การเป็นไปของยาเมื่อยาเข้าสู่ร่างกายร่างกายจัดการอย่างไรกับยาที่ได้รับ
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย drug absorption
การดูดซึม อัตราและปริมาณยาที่เข้าสู่กระแสโลหิต
bioavailability สัดส่วนของยาที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลงที่ถูกนำเข้าสู่กระแสเลือด
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
ขนาดโมเลกุลของยายาที่โมเลกุลต่ำจะซึมผ่าน cell membrane ได้เร็วกว่า ยาที่มีโมเลกุลสูง
วิธีการผลิตยา รูปแบบยา
ขนาดยาที่ให้
คุณมบัติในการละลายในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
ยาเป็นกรดอ่อนดุดซึมได้ดีในกรดเช่นกระเพาะอาหาร
ยาที่เป็นด่างดูดซึมได้ที่ในด่าง
ยาที่มีคุณสมบัติ hepatic fist past effect สูงควรพิจารณาการให้ยาทางอื่น
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้นทำให้ดูดซึมได้ดีผ่านทางหลอดเลือดฝอยได้รวดเร็ว
การให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนังกล้ามเนื้อและหลอดเลือดดำ ดูดซึมเข้ากระแสเลือดได้ 100 เปอร์เซ็น
การให้ยาดูดซึมผ่านผิวหนัง
พยาธิสภาพของร่างกายเช่นโรคเกี่ยวกับทางเดินอาหารปริมาณอาหารในกระเพาะมีผลต่อการดูดซึมของยาผ่านทางเดินอาหารได้
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ผู้รับยา
การได้รับยาหรืออาหารชนิดอื่นร่วมด้วย
การกระจายตัวของยา drugs distribution
คุณสมบัติทางเคมีและุฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะ
ความสามรถในการผ่านเข้าสมองและรก
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงของยา drug metabolism
กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา
ยาบางชนิดไม่สามรถออกฤทธิ์ได้หลังให้ยาต้องกระตุ้น
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
การแปรสภาพยาช่วยทำให้ยามีคุณมบัติละลายน้ำได้ดีขึ้น
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์อยู่ในไซโตพลาสซึม
ในร่างกายมีเอนไซม์หลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการแปรสภาพยาเช่นenzyme NADPH-cytochrom Pductase 450 reductase
phase ll reaction
บาที่จะถูกขับออกทางไตจะถูกทำให้ละลายน้ำได้ดีขึ้น
phase l reaction
เปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของยาโดยอาศัยกระบวนการ oxidation reduction hydrolysis
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
สิ่งแวดล้อม
อายุ
พันธุกรรม
ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิดmetsbolism
enzyme inducer ยาบางชนิดสามารถเพิ่มการสังเคราะห์enzyme NADPH-cytochrom Pductase 450 -dependent drugs-oxidazingในตับได้หากให้ยานี้ร่วมกับยาอื่นทำให้ยาอื่นมีประสิทธิภาพลดลงเนื่อจาก มี enzyme เพิ่ม
enzyme inhibitor ลดการทำงานenzyme NADPH-cytochrom Pductase 450 ในตับส่งผลหากให้ยานี้ร่วมกับยาอื่นยาจะออกฤทธิ์นานเกิดอันตรายต่อร่างกายได้
การขับถ่ายยา drug excretion
ขับทางไต ตับ น้ำดี ปอด เหงื่อ น้ำนม
ค่าสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
loading dose
การให้ยาสูงอย่างรวดเร็วเพื่อหวังผลให้ปริมาณและขนาดของยาสูงขึ้นออกฤทธิ์รวดเร็ว
on set
ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนยาออกฤทธิ์
ค่าครึ่งชีวิต
เวลาที่ใช้ในการทำให้ยาหรือความเข้มข้นของยาลดลงเหลือ 50 เปอร์เซ็น
duration of action
ระยะที่ยาออกฤทธิ์จนหมดฤทธิ์
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ออกฤทธิ์โดยไม่จับ receptor
ออกฤทธิ์จับกับ receptor
ตัวรับ receptor
จดจำและจับกับสารที่มีโครงสร้างจำเพาะเจาะจงแล้วทำให้การทำงานของเซลล์นั้นๆเปลี่ยนแปลงในร่างกายมี receptor สำหรับ endogenous substrstes เกือบทุกชนิด
agonist
ยาที่จับ receptorเกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
aqntagonist
ยาที่จับ receptor แล้วสามรถลดหรือบดบังฤทธิ์ของ agonist ในการจับreceptor ขัดขวางการทำงานagonist
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
efficacy
ความสามารถของยาที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
potency
ความแรงของฤทธิ์ยา
affinity
ความสามรภของยาที่เข้าจับ receptor
ระดับความปลอดภัยของยา therapeutic index
ยาที่มีค่า therapeutic index ต่ำมีความปลอดภัยต่ำ
ยาที่มีค่า therapeutic index สูงมีความปลอดภัยสูง
การแปรผันของการตอบสนองยา
hyporeactivity
ตอบสนองต่อยาน้อยกว่าปกติ
hypereactivity
ตอบสนองต่อยามากกว่าปกติ
idiosyncrasy
การตอบสนองที่แตกต่างจากคนปกติพบน้อย
hypersensitivity
แพ้ยา
tolerance
ดื้อยา
tachyphylaxis
ดื้อยาอย่างรวดเร็วหลังรับยา 2-3 ครั้ง
placebo effect
ยาฤทธิ์หลอก