Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4.3.1 - Coggle Diagram
บทที่4.3.1
Uterine Rupture
-
-
พยาธิสภาพ
การแตกของมดลูกในระยะคลอด มักเกิดบริเวณมดลูกส่วนล่าง (Lower uterine segment) จากการที่มดลูกหดรัดตัวถี่และรุนแรงในขณะตั้งครรภ์และเจ็บครรภ์คลอด กล้ามเนื้อมดลูกส่วนล่างถูกดึงให้บางและยืดออกเพื่อให้ทารกให้ครรภ์เคลื่อนต่าลงสู่ช่องทางคลอด การที่มดลูกส่วนล่างยืดขยายออกและบางมากจนกระทั่งเห็นมดลูกเป็น สองลอนทางหน้าท้อง เรียกว่า pathological retraction ring หรือ Bandl’s ring ส่วนทารกในครรภ์อาจมีภาวะ ขาดออกซิเจนเนื่องจากปริมาณเลือดมารดาไปสู่รกลดลงเพราะมดลูกหดรดตัวรุนแรงมาก ต่อจากนั้นถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือมดลูกจะแตก ซึ่งการแตกของมดลูกส่วนล่างจะทาให้มีการสูญเสียเลือดมากกว่าการแตกบริเวณมดลูกส่วนบน
อาการ
ก่อนมดลูกแตก
-
-
๓. การคลอดไม่ก้าวหน้า ปากมดลูกไม่เปิดขยายต่อและส่วนนาของทารกไม่เคลื่อนต่าลงมา PV พบปากมดลูกอยู่สูงขั้นจากการถูกดึงรั้งขึ้นไป ปากมดลูกบวม หัวทารกเป็น caput succedaneum
๔. มองเห็นหน้าท้องเป็นสองลอนสูงขึ้นเกือบถึงระดับสะดือ (Bandl’s ring) เนื่องจากมดลูกส่วนบนหดรัดตัวดึงมดลูกส่วนล่างให้ตามขึ้นไป มดลูกส่วนล่างจึงยืดขยายออกและบางลงมาก มารดาจะเจ็บปวดมากจนแตะต้องบริเวณนี้ไม่ได้
-
-
-
เมื่อมดลูกแตกแล้ว
-
-
-
-
-
-
-
๘.มีภาวะ Hypovolemic shock ได้แก่ กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่าลง ตัวเย็น เหงื่อออก หายใจไม่ออก และหมดสติ เนื่องจากเสียเลือดมาก
๙.ผู้คลอดจะเจ็บบริเวณหน้าอก ร้าวไปถึงไหปลาร้าโดยเฉพาะเมื่อหายใจเข้าเพราะเลือดในช่องท้องจะไปดันกระบังลม จึงปวดร้าวไปที่เส้นประสาทฟรีนิค (phrenic nurve) ที่มีจุดกาเนิดอยู่ที่ C3-C5 และทอดลงมาผ่านปอดและหัวใจจนถึงกระบังลม
ผลกระทบ
ผู้คลอดอาจมีอาการแสดงของการเสียเลือดจนช็อก หรือเจ็บบริเวณท้องมาก อาจเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบได้ รวมทั้งผู้คลอดจะมีความวิตกกังวลมาก
ทารกจะมีการขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง หรือได้รับบาดเจ็บจากการคลอดฉุกเฉินทั้งจากการผ่าตัดคลอดหรือใช้หัตถการช่วยคลอด และอาจเสียชีวิตได้ ถ้าการช่วยเหลือไม่เป็นไปอย่างรีบด่วน
การพยาบาล
-
หลังมดลูกแตกแล้ว
๑. ผู้คลอดปวดท้องอย่างรุนแรง รู้สึกอึดอัดจากเลือด น้าคร่าและตัวเด็กระคายเคืองต่อเยื่อบุช่องท้องถ้ามดลูกแตกขณะเจ็บครรภ์ อาการเจ็บครรภ์จะหายไป
-
-
-
-
-
-