Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน (Health out and Unit cost) - Coggle Diagram
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน
(Health out and Unit cost)
สภาวะสุขภาพ
สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจและสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช่เพียงโรคภัย หรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น
ข้อดีและข้อเสียของผลลัพธ์ทางสภาวะสุขภาพ
ผลที่เป็นตัวแทน
ข้อดี
สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
มีค่าที่ชัดเจน
สามารถวัดถึงค่าใช้ที่เกิดขึ้นในระยะสั้น
ข้อเสีย
อาจส่งผลที่คลาดเคลื่อนในด้านนโยบาย
ไม่บ่งชี้ถึงผลลัพธ์สุดท้าย
ผลสุดท้าย
ข้อดี
เป็นตัวแทนที่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์สุดท้าย
ครอบคลุมผลการรักษา
ข้อเสีย
อาจจะนานเกินไปในการเฝ้าติดตามผู้ป่วย
ค่าใช้จ่ายสูง
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ
ประเภทของต้นทุน
ต้นทุนทางการแพทย์ (Medical costs) vs ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่การแพทย์ (Non-medical costs)
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital costs) vs ต้นทุนดำเนินการ (Operational [Recurrent] costs)
ต้นทุนที่จับต้องได้ (Tangible costs) vs ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible costs)
ต้นทุนทางตรง (Direct costs) vs ต้นทุนทางอ้อม (Indirect costs)
ต้นทุนแยกตาม
พฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนผันแปร (Variable cost:VC)
ต้นทุนร่วม (Total cost: TC หรอ Full cost)
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost: FC)
ต้นทุนเฉลย (Average cost) = ต้นทุนต่อหน่วย (Unit cost) = ต้นทุนร่วม/ผลผลิตทั้งหมด
ประโยชน์ของการศึกษาต้นทุน
ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ จากการเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่จะได้
ใช้คำนวณอัตราคนทน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวางนโยบายว่า กิจกรรมใดควรมีอัตราคนทนเท่าไรจึงจะเหมาะสม
ทำให้มีข้อมูลและสามารถนำเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด และมิติต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหาร
มุมมองต้นทุน
วงจรการผลิตและการบริโภคด้านสุขภาพ
ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน (คน อุปกรณ์ วิธีการ)
ต้นทุนที่อยู่ในรูปของตัวเงิน (งบประมาณด้านการจัดบริการสุขภาพ)
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
Cost Centre Approach
ใช้ระบบบัญชีแบบดั้งเดิม (Traditional cost accounting method) มีความเรียบง่าย ความเที่ยงตรง และตรวจสอบได้ง่าย
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็นหน่วยงานต้นทุน (Cost Centre Identification & Grouping)
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน (Direct Cost Determination)
ต้นทุนค่าแรง (LABOUR COST)
เงินเดือน
สวัสดิการ
ค่าช่วยเหลือบุตร
ค่ารักษาพยาบาล
ค่าเล่าเรียน
ต้นทุนค่าวัสดุ
(MATERIAL COST)
ค่าวัสดุสำนักงาน
วัสดุงานบ้าน
วัสดุเครื่องแต่งกาย
ต้นทุนค่าลงทุน
อายุการใช้งานเกินกว่า1ปีหรือมีมูลค่าเกินจำนวนที่กำหนด
อาคาร และสิ่งปลูกสร้าง
เครื่องมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม (Allocation criteria)
หาต้นทุนรวมทั้งหมด (Full Cost Determination)
หาต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost)
Activity Approach
ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity-Based Costing) หรือระบบ ABC เป็นเครื่องมือในการบริหารงานในลักษณะการบริหารงานฐานคุณค่า (Value-Based Management)
ขั้นตอนในการศึกษาต้นทุน
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน (Direct Cost Determination)
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม (Allocation criteria)
วิเคราะห์และระบุหน่วยกิจกรรม (Determine activity analysis unit)
หาต้นทุนรวมทั้งหมดของแต่ละกิจกรรม (Full Activity Cost Determination)
หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม (Activity unit Cost)
คำถามที่ต้องการคำตอบ
Effectiveness
ได้ผลในทางปฏิบัติหรือไม่
Efficiency
คุ้มกับต้นทุนหรือไม่
Efficacy
ดีจริงหรือไม่
Equity
เป็นธรรมหรือไม่
ผลลัพธ์ทางการสุขภาพใน
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์เป็นการประเมินระหว่างต้นทุน (Costs) และผลลัพธ์ (benefits)
การวัดผลทางสุขภาพมีความสำคัญในการประเมินทางเศรฐศาสตร์
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิก
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทนหรือผลลัพธ์ทางระยะกลาง
คาสญญาณทางกายภาพ
ค่าที่ได้จากห้องปฏิบัติการ
ผลลัพธ์สุดท้าย
การปฏิบัติหน้าที่
การรอดชีวิต
ความรู้สึก