Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสัญญาณชีพ - Coggle Diagram
การประเมินสัญญาณชีพ
อุณหภูมิของร่างกาย
อุณหภูมิของร่างกายเป็นระดับความร้อนของร่างกายซึ่งเกิดจากความสมดุลของการสร้างความร้อนของร่างกายและการสูญเสียความร้อนจากร่างกายไปยังสิ่งแวดล้อม อุณหภูมิในร่างกายของมนุษย์จะคงที่ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงมากนักถึงแม้อุณหภูมิภายนอกอาจจะเปลี่ยนไป
-
-
-
-
-
-
-
-
สัญญาณชีพ
สัญญาณชีพ(Vital signs) เป็นสิ่งที่แสดงให้ทราบถึงการมีชีวิตสามารถสังเกตและตรวจพบได้จากอุณหภูมิชีพจรการหายใจและความดันโลหิตสิ่งเหล่านี้เกิดจากการทํางานของอวัยวะของร่างกายที่สําคัญมากต่อชีวิตได้แก่หัวใจปอดสมองการทํางานของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจ
-
ค่าปกติของสัญญาณชีพ ค่าสัญญาณชีพของแต่ละบุคคลปกติจะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับอายุ เพศ และตรวจในขณะพัก หรือหลังการเคลื่อนไหว เกณฑ์ในการประเมินความผิดปกติของสัญญาณชีพ ดังนี้
-
-
-
-
-
การหายใจ
การประเมินการหายใจ
การประเมินการหายใจ เป็นการนับอัตราการหายใจเข้าและออก นับเป็นการหายใจ 1 ครั้งไปจนครบ 1 นาทีเต็มมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบการทํางานของปอด และทางเดินของลมหายใจ
ลักษณะการหายใจที่ผิดปกติ
-
-
จังหวะของการหายใจการหายใจปกติจะมีจังหวะการหายใจเข้าและหายใจออกเท่ากันและสม่ําเสมอ จังหวะของการหายใจที่ผิดปกติ
Cheyne stokesเป็นการหายใจเป็นช่วงๆไม่สม่ําเสมอ โดยจะเพิ่มอัตราการหายใจหายใจเร็วลึกและตามด้วยช่วงที่หยุดหายใจ แล้วกลับมาหายใจเร็วอีก
Biotเป็นการหายใจปกติสลับกับการหายใจเร็วลึก ไม่สม่ําเสมอเป็นช่วงสั้นๆ 2-3ครั้ง แล้วตามด้วยหยุดหายใจช่วงสั้นๆ
ลักษณะของการหายใจปกติ ะเป็นไปโดยสะดวกไม่ต้องใช้แรง ไม่มีเสียง และไม่เจ็บปวดลักษณะของการหายใจที่ผิดปกติ
-
-
-
-
-
-
สีของผิวหนังที่ผิดปกติได้แก่Cyanosisพบเยื่อบุและผิวหนังมีสีม่วงคล้ํา ซึ่งบ่งชี้ถึงการขาดออกซิเจนเนื่องจากปริมาณออกซิเจนในเลือดลดลง สาเหตุที่พบบ่อย คือ การอุดกั้นของทางเดินหายใจ
-
ชีพจร
การประเมินชีพจร
-
-
-
-
-
-
-
ข้อควรจําในการวัดชีพจร
-
-
พยาบาลไม่ควรใช่นิ้วหัวแม่มือในการคลําชีพจร เพราะหลอดเลือดที่นิ้วหัวแม่มือเต้นแรงอาจทําให้สับสนกับชีพจรของตนเอง
-
-
ลักษณะชีพจรที่ผิดปกติ
อัตรา(Rate) การเต้นของชีพจร จํานวนครั้งของความรู้สึกที่ได้จากคลื่นบนหลอดเลือดแดงกระทบนิ้วหรือการฟังที่ Apex ของหัวใจในเวลา 1นาที
-
-
จังหวะ(Rhythm) การเต้นชีพจร จังหวะและช่วงพักของชีพจร ชีพจรจะเต้นเป็นจังหวะ และมีช่วงพักระหว่างจังหวะ
-
-
-
-
-
ความดันโลหิต
การประเมินความดันโลหิต
การวัดความดันโลหิตโดยทางตรง โดยวิธีใส่สายสวนเข้าไปในSuperior vena cavaและใช้เครื่องมือวัดความดันของเลือดที่จะเข้าหัวใจห้องบนขวา
การวัดความดันโลหิตโดยทางอ้อมเป็นการวัดความดันของหลอดเลือดแดงมี2 วิธีคือวิธีการฟังและวิธีการคลําเครื่องมือที่ใช้สําหรับวัดความดันโลหิต
-
-