Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนด้านจิตใจ, นางสาว ชุติมณฑน์ อุดมศรี…
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนด้านจิตใจ
Postpartum blues
สาเหตุส่งเสริม
ครรภ์แรก หรือมีภาวะแทรกซ้อน
การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ
ความเครียดทางจิตใจในระยะหลังคลอด
ความเครียดจากสังคมและสิ่งแวดล้อม
มีวุฒิภาวะไม่สมบูรณ์
มีความวิตกกังวลสูง
มีความเป็นคนเจ้าระเบียบ
อาการและอาการแสดง
ร้องไห้โดยไม่มีสาเหตุ
มีความรู้สึกวิตกกังวลท้อแท้
ตื่นเต้น ความรู้สึกไว เงียบขรึม
มีอารมณ์เศร้า เหงา สับสน
อารมณ์รุนแรง สีหน้าไม่สุขสบาย
อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ
เบื่ออาหาร
การพยาบาล
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลบุตร และตนเองในระยะหลังคลอด
ส่งเสริมให้บุคคลในครอบครัวโดยเฉพาะคู่สมรสช่วยให้ก าลังใจ ประคับประคอง ช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆ ในระยะหลังคลอด
คอยสังเกตและบันทึกอาการด้านอารมณ์ของมารดาหลังคลอด
Postpartum depression
สาเหตุส่งเสริม
คลอดครรภ์แรก
มีประวัติซึมเศร้าหลังคลอด
มีความรู้สึกสองฝักสองฝ่ายในการตั้งครรภ
ขาดการประคับประคองจากญาติ คู่สมรส หรือสังคม
ขาดสัมพันธภาพกับบิดา มารดา หรือ คู่สมรส
มีความรู้สึกขาดความพึงพอใจในตนเอง
มีความเครียดทางจิตใจ
ประสบการณ์การคลอดล าบาก การบาดเจ็บจากการคลอด
มีความเครียดทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
มีประสบการณ์จากการคลอดในครรภ์ก่อน ๆ ไม่ดี
อาการและอาการแสดง
่ มีอารมณ์และความรู้สึก ท้อแท้ สิ้นหวัง
มองโลก ในแง่ร้าย
หดหู่ หม่นหมอง วิตกกังวล
รู้สึกไร้ค่าไม่มีความหมาย ไม่มีคนต้องการ
ซึมเศร้าอย่างรุนแรง ร้องไห้ถี่
นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ไม่มีสมาธิ ไม่สนใจตนเอง
ไม่มีความรู้สึกทางเพศ
ควบคุมตนเองไม่ได้
การรักษา
ให้ยา
Isocarboxazind
Phenelzine
Amitriptyline
การรักษาทางจิต แบบรายบุคคล หรือรายกลุ่ม
การใช้กลุ่มช่วยในการรักษา
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
สนับสนุนและสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองให้แก่หญิงหลังคลอด
การพยาบาล
ให้โอกาสหญิงหลังคลอดได้ซักถาม และมีส่วนร่วมในการเตรียมตัว
ดูแลให้มารดาหลังคลอดได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ให้มารดาได้รับความสุขสบายด้านร่างกาย บรรเทาอาการเจ็บปวด
อธิบายให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายแจะจิตใจหลังคลอด
ดูแลช่วยเหลือและให้ค าแนะน าการปฏิบัติตนในระยะหลังคลอด และการเลี้ยงดูบุตร
ส่งเสริมให้กำลังใจให้มารดารู้สึกว่าเป็นบุคคลสำคัญในการดูแลทารก
แนะนำสามี และญาติ ให้กำลังใจแก่มารดา ให้ความสนใจ
จัดกลุ่มสอนเกี่ยวกับการเลี้ยงดูบุตรหลังคลอด บทบาทการเป็นบิดามารดา
อธิบายให้ทราบถึงอาการแสดงของภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
รายงานแพทย์เพื่อส่งต่อเมื่อมีอาการแสดงรุนแรง
Postpartum psychosis
สาเหตุส่งเสริม
มีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
มีประวัติเป็น manic-depressive
มารดาที่มีภาวะเครียดจากการตั้งครรภ์
มารดาที่มีบุคลิกภาพแปรปรวนอยู่ก่อนการตั้งครรภ์
มีประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัวด้วยโรคทางจิตเวช
การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกาย
อาการและอาการแสดง
รู้สึกยุ่งยากใจ กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย สับสน ไม่มีเหตุผล
สมาธิสั้น ความจำเสีย ตัดสินใจไม่ได้
หวาดระแวง ประสาทหลอน
การรักษา
การให้ยา antipsychotics และยา sedative
การช็อคไฟฟ้า
การทำจิตบำบัด
การให้มีการสนับสนุนทางสังคม
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับความต้องการพื้นฐานประจำวัน
ให้ความเป็นกันเอง ความใกล้ชิด
รับฟังหญิงหลังคลอดให้ระบายความรู้สึก
ส่งเสริมและกระตุ้นให้เข้ากลุ่มจิตบำบัด
อธิบายให้สามีและญาติเข้าใจและทราบถึงวิธีการรักษา
ส่งเสริมให้มารดาของหญิงหลังคลอด
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
แนะนำแหล่งให้ความช่วยเหลือ
ติดตามเยี่ยมหลังคลอด ตามความต้องการของหญิงหลังคลอด
นางสาว ชุติมณฑน์ อุดมศรี เลขที่ 21