Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม, image - Coggle Diagram
บทที่ 1 การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดค้นเพื่อช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้ในสังคมของตน
พื้นฐานสำคัญของวัฒนธรรมประกอบด้วย
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (Culture is learned)
มีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (Symbol)
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (Shared ideas)
เป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
กระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
เป็นสิ่งที่ไม่อยู่นิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
วัฒนธรรมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture)
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture)
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์การหรือสมาคม (Organization / Association)
องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage หรือ Ceremony)
องควัตถุ (Material)
องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)
ความสำคัญของวัฒนธรรม
ทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม
มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่ต่างจากสัตว์
เป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ด้านจิตวิทยา
สังคมและวัฒนธรรม
ด้านบุคคล
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
ความเชื่อแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะคลอดบุตร
ถ้าลอดรั้วจะคลอดลูกยาก
ระยะตั้งครรภ์
มนุษย์กับดวงดาวจักรวาล
ระยะหลังคลอด
ห้ามอาบน้ำประมาณ1เดือน
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
แบบพื้นบ้าน
ใช้ยาดองสมุนไพร
ความแปรปรวนของธาตุ
แบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
พื้นบ้านจะเชื่อกฎแห่งกรรมให้ทำดีตั้งแต่ตอนนี้
แบบตะวันตก พิจารณาจากการหยุดเต้นของหัวใจมีอุปกรณ์ทางการแพทย์
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
ความเชื่อแบบประเพณี
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ค่านิยมทางสังคม
ถือได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่กำหนดพฤติกรรมของสมาชิกสังคมนั้นๆ โดยตรง
ความเชื่อ
การยอมรับคำอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ที่บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม และถ่ายทอดสืบต่อกันมา
ปัจจัยที่ทำให้เกิดค่านิยมทางสังคม
สถาบันศาสนา
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
โรงเรียน
สื่อมวลชน
ครอบครัว
องค์การของรัฐบาล
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาประชาชนในภูมิภาคต่างๆ ของโลก
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
กินอาหารที่ปรุงสุก
รับการฉีดวัคซีน
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
ดูแลเชื่อมโยงกันทั้งระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน แบบพื้นบ้าน และแบบวิชาชีพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
งดอาหารแสลง
ออกกำลังกาย
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ แบ่งตามประโยชน์และโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์
ห้ามผู้หญิงท้องกินกล้วยแฝด
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
ให้เด็กกินดินหรือโคลน
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ
กินอาหารสุกๆดิบๆ
แนวทางการดูแลสุขภาพที่เกิดขึ้นเป็นวัฒนธรรมของการดูแลสุขภาพ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน (Folk sector of care)
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน (Popular health sector)
ระบบการดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ (Professional health sector)