Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม, _99674417_938784e2-b9c0-46bf-bcba…
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
เชื่อว่าพระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
เกิดจากประสบการณ์ตรง
เกิดจากการแลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
ความเชื่อแบบประเพณี
ภาคเหนือเชื่อในเรื่องเกี่ยวกับผีและอำนาจเหนือธรรมชาติเกี่ยวกับป่า
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
หลักคำสอนในพระพุทธศาสนาเรื่องการมีสติ ความไม่ประมาท
ค่านิยมทางสังคม
อิทธิพลต่อการเรียนรู้
ครอบครัว
โรงเรียน
สถาบันศาสนา
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
สื่อมวลชน
องค์การของรัฐบาล
ทุกสังคมมีระบบค่านิยมของตนเอง ซึ่งถือเป็นลักษณะเฉพาะที่คนในสังคมนั้นๆ ยึดถือว่ามีคุณค่าร่วมกัน
ความเชื่อสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามวิวัฒนาการและพัฒนาการของสังคม
ถ่ายทอดสืบต่อกันมาจนตกผลึกเป็นแบบแผนทางวัฒนธรรม
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
การรับรู้ และการเรียนรู้
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
การขัดเกลาทางสังคม การควบคุมทางสังคม การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ปัจจัยทางด้านบุคคล
ศาสนา อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเจ็บป่วยเกิดจากการกระทำของผี ความเจ็บป่วยเกิดจากเวทมนต์และคุณไสย ความเจ็บป่วยที่เกิดจากขวัญ
ดูแลสุขภาพแบบเหนือธรรมชาติ
ใช้การประกอบพิธีกรรมเป็นหลัก
การแพทย์แบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
กลุ่มหมอดู กลุ่มหมอสะเดาะเคราะห์ กลุ่มหมอธรรม และกลุ่มหมอตำรา
ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ ความเจ็บป่วยที่เกิดจากอุบัติเหตุ
ดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
ทำพิธีตั้งขันข้าวหรือการตั้งคาย
ดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์แบบพื้นบ้าน
หมอสมุนไพร หมอเป่า หมอกระดูกหรือหมอน้ำมัน หมอนวด และหมอตำแย
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเจ็บป่วยเกิดจากพันธุกรรม ความเจ็บป่วยเกิดจากพฤติกรรม
ดูแลสุขภาพแบบแพทย์ตะวันตก
การวินิจฉัยหาสาเหตุของความเจ็บป่วย ส่วนผู้ให้การดูแลรักษาในการแพทย์ตะวันตก
ดูแลด้านการฟื้นฟูสุขภาพ และบุคลากรอื่น ๆ
เจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค เจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคการแพทย์
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์เป็นผลจากความสัมพันธ์ของมนุษย์กับดวงดาวในระบบจักรวาล
การดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ จะเกี่ยวกับสุขภาพจิต สุขภาพกาย
ระยะคลอดบุตร
ความเชื่อเกี่ยวกับการคลอดบุตร
เรื่องความเป็นสิริมงคล ท่าทางในการคลอด
การดูแลสุขภาพในระยะคลอดบุตร
การจัดสถานที่และท่าทางในการคลอด การตรวจครรภ์ก่อนคลอด การคลอด
ระยะหลังคลอด
ความเชื่อเกี่ยวกับภาวะหลังคลอด
ความเชื่อเรื่องผี ความเชื่อเรื่องกรรม
การดูแลสุขภาพในระยะหลังคลอด
การอยู่ไฟ การนาบหม้อหรือการทับหม้อเกลือ การประคบสมุนไพร
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ความเชื่อเรื่องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
ภาวะที่ตัวอ่อนหรือทารกได้ก่อกำเนิดขึ้นภายในมดลูก
การดูแลสุขภาพแบบการแพทย์ตะวันตก
หลักการดูแลคล้ายคลึงการแบบพื้นบ้าน คือ มีในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา
กำหนดอายุตั้งแต่ 60 หรือ 65ปีขึ้นไป เป็นเกณฑ์เข้าสู่วัยชรา
การดูแลสุขภาพวัยชราแบบการแพทย์แผนตะวันตก
การดูแลด้านการออกกำลังกาย การดูแลด้านการพักผ่อนนอนหลับ
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา
ภาวะหมดประจำเดือนในเพศหญิง การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในเพศชาย
การดูแลสุขภาพวัยชราแบบพื้นบ้าน
การใช้สมุนไพร
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อในเรื่องวิญญาณ กฎแห่งกรรม การเวียนว่ายตายเกิดและชาติภพ
การดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
มุ่งเน้นการตอบสนองทางด้านจิตวิญญาณของผู้ตายและเครือญาติ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
จะพิจารณาจากการหยุดทำงานของหัวใจและการทำงานของแกนสมอง
มุ่งเน้นให้ระบบและอวัยวะต่าง ๆ สามารถทำงานต่อไปได้และยืดชีวิตผู้ป่วยให้ยาวนานมากที่สุด
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ครอบคลุมการดูแบสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
การกินอาหารประเภทน้ำพริกผักจิ้มและอาหารจากธรรมชาติ การออกกำลังกาย งดบริโภคสุราและสิ่งเสพติด
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
การบริโภคอาหารปรุงสุก การคว่ำกะลาหรือใส่ทรายอะเบทเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของยุงลาย การรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน แบบพื้นบ้าน และแบบวิชาชีพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
การดูแลการพักฟื้นของผู้ป่วยจากคนในครอบครัว การงดบริโภคอาหารแสลง
ความหมายของวัฒนธรรม (Culture)
พื้นฐานที่สำคัญของวัฒนธรรมไว้ 6 ประการ
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (Shared ideas)
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (Culture is learned)
วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (Symbol)
วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
วัฒนธรรมกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
วัฒนธรรมออกเป็น 2 ประเภท
วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture)
การประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
ถ้วย ชาม จาน ช้อน ส้อม และถนนหนทาง
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture)
วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดยทัศนะ ประเพณี
ปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับ
ความคิด ความเชื่อ ภาษา ศีลธรรม ปรัชญา และกฎหมาย
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์วัตถุ (Material)
เครื่องมือและสัญลักษณ์ (Instrumental And Symbolic Objects)
วัฒนธรรมด้านวัตถุที่มีรูปร่างจับต้องได้
ภาพเขียน สิ่งก่อสร้างต่างๆ และการสร้างสัญลักษณ์
องค์การหรือสมาคม (Organization หรือ Association)
วัฒนธรรมในส่วนของการจัดระเบียบเป็นองค์การหรือสมาคม
สหภาพ สมาคม ชมรม บริษัท
องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage หรือ Ceremony)
มนุษย์สร้างขึ้นนับตั้งแต่การเริ่มต้นของชีวิต
พิธีรับขวัญเด็ก พิธีโกนจุก พิธีแต่งงาน พิธีงานศพ
องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)
วัฒนธรรมในด้านความคิด ความเชื่อ และอุดมการณ์ต่างๆ
ความเชื่อในเรื่องบาปบุญ ความเชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม ความเชื่อในพระเจ้า
ความสำคัญของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นเครื่องกำหนดความเจริญ
เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม เจตคติความคิดเห็นและความเชื่อถือของบุคคล
ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
จัดแบ่งได้ตามประโยชน์และโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแผด
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์
การให้ทารกกินนมแม่นานถึง 2 ปี
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
สังคมแอฟริกันบางสังคมให้เด็กกินดินหรือโคลน
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ
การรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เป็นสาเหตุโรคพยาธิ โรคอุจจาระร่วง
วัฒนธรรมของการดูแลสุขภาพของประชาชน
ระบบการดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ (Professional health sector)
การรักษาพยาบาลทางการแพทย์ มีการจัดองค์กรที่เป็นทางการ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน (Folk sector of care)
การปฏิบัติการรักษาที่มิใช่รูปแบบของวิชาชีพ ไม่มีการจัดองค์กร ใช้อำนาจเหนือธรรมชาติ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน (Popular health sector)
ถูกปลูกฝังถ่ายทอดกันมาตามวัฒนธรรม ความเชื่อที่เกี่ยวกับสุขภาพและความเจ็บป่วย
เน้นสมรรถนะทางวัฒนธรรม (The process of cultural competence in the delivery of healthcare services model)
ใช้หลัก ASKED
Awareness
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural awareness)
บุคลากรสุขภาพที่เล็งเห็นถึงความสําคัญของ การให้คุณค่า ความเชื่อ วิถีชีวิต พฤติกรรม
หากบุคลากรสุขภาพยังไม่เข้าใจ วัฒนธรรมตนเอง ก็มีโอกาสที่จะเกิดพฤติกรรมการบริการ ที่ไม่เหมาะสม
Skill
การมีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural skill)
ความสามารถของบุคลากรสุขภาพในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติและปัญหาของผู้รับบริการ
การมีความไวทางวัฒนธรรม (cultural sensitivity) รวมถึง การเรียนรู้วิธีประเมินความต่างทางวัฒนธรรม (cultural assessment)
Knowledge
การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural knowledge)
การแสวงหาความรู้พื้นฐานที่ เกี่ยวข้องกับโลกทัศน์ (world view)
สามารถศึกษาได้จาก ศาสตร์ต่าง ๆ
การบริการข้ามวัฒนธรรม มานุษยวิทยาการแพทย์
ความรู้พื้นฐานทางวัฒนธรรมยังรวมไปถึงลักษณะเฉพาะ ทางด้านร่างกาย ชีววิทยา
Encounter
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม (cultural encounter)
บุคลากรสุขภาพมีความสามารถในการจัดบริการผู้รับบริการที่มีภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
ประสบการณ์ในลักษณะนี้จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
Desire
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม (cultural desire)
เข้าไปสู่กระบวนการพัฒนาสมรรถนะทางวัฒนธรรม
เป็นขั้นที่สูงที่สุดของสมรรถนะทางวัฒนธรรม