Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานและหลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา(Drug)
วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา
วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
เภสัชวิทยา
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยาและฤทธิ์หรือผลต่างๆของยาที่มีต่อร่างกาย รวมทั้งผลที่ร่างกายกระทำต่อยาด้วย
เภสัชกรรม
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยา ผสมยาและจ่ายยาเพื่อรักษา
ประเภทของยา
ยาแผนปัจจุบัน
ยาใช้ภายนอก
ยาแผนโบราณที่มุ่งหมายสำหรับใช้ภายนอกทั้งนี้ไม่รวมถึงยาใช้เฉพาะที่
ยาใช้เฉพาะที่
ยาแผนโบราณที่มุ่งหมายสำหรับใช้เฉพาะที่กับผิวหนัง หู ตา จมูก ปาก ช่องคลอด ท่อปัสสาวะ และทวารหนัก
ยาควบคุมพิเศษ
ยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาที่ควบคุมพิเศษ
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศเป็นยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ
ยาแผนโบราณที่ได้ผลิตขึ้นเสร็จในรูปแบบต่างๆทางเภสัชกรรม มีฉลากครบถ้วน
ยาแผนโบราณ
ใช้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ บำบัดโรคสัตว์
ยาสมุนไพร
ยาที่ได้จากพฤกษชาติ สัตว์ แร่ ซึ่งไม่ได้ปรุงหรือแปรสภาพ
ยาแผนปัจจุบัน
ใช้สำหรับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
แบ่งตามเภสัชตำรับ
แบ่งประเภทของยาที่นิยมใช้กันมากที่สุด อาจใช้ร่วมกับการแบ่งยาตามกลไกลการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
กลไกลการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
แหล่งที่มาของยา หรือคุณสมบัติทางเคมี และเภสัชวิทยาของยา
ความสำคัญของเภสัชวิทยาต่อวิชาชีพพยาบาล
พยาบาลจะต้องมีความผิดจากการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาล
ความรู้พื้นฐานทางด้านเภสัชวิทยานำเป็นต่อวิชาชีพพยาบาล
พยาบาลต้องมีคุณธรรมโดยการตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุด
พยาบาลต้องอยู่ภายใต้ข้อบังคับกฎหมายกำหนดไว้
พยาบาลสามารถให้ยาแก่ผู้ป่วยเมื่อแพทย์มีคำสั่งการรักษาเป็นลายลักษณ์อักษรเท่านั้น
นักศึกษาพยาบาลจะให้ยาแก่ผู้ป่วยต้องอยู่ภายใต้อาจาร์ยพยาบาลหรือพยาบาลวิชาชีพ
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากสัตว์ สกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์
จากแร่ธาตุ
จากพืช เป็นยาที่ได้จากส่วนต่างๆของพืชโดยตรง แล้วนำมาปรุงเป็นยาโดยไม่เปลี่ยนแปรงรูป เรียกว่า สมุนไพร
จาการสังเคราะห์
อาศัยปฏิกิริยาทางเคมีนห้องปฎิบัติการ
การเรียกชื่อยา
เรียกชื่อตามการค้า
เป็นชื่อบริษัทผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายยา
เรียกตามสูตรเคมี
เรียกตามลักษณะส่วนประกอบทางเคมีของยาตั้งแต่การเรียงตัวของอะตอมหรือกลุ่มอะตอม
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือชื่อตัวยา
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาโคโลเดียน
ยากลีเซอริน
ยาสปริริต
ยาถูนวด
ยาอิลิกเซอร์
ยาป้าย
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายเป็นน้ำ
ยาน้ำเชื่อม
ยาจิบ
ยาน้ำใส
ยากลั้วคอ
น้ำปรุง
ยาอมบ้วนปาก
ยาหยอดจมูก
ยาหยอดหู
ยาสวนล้าง
ยาน้ำสวนทวารหนัก
ยาน้ำกระจายตัว
โลชั่น
แมกมาและมิลค์
เจล
มิกซ์เจอร์
อิมัลชั่น
รูปแบบที่เป็นของแข็ง
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
เวลาจะใช้ต้องเคี้ยวก่อน ยาถึงจะออกฤทธิ์ได้ดี
ยาอม
ยาอมใต้ลิ้น
เป็นยาที่ดูดซึมได้ดีในเยื่อบุในช่องปาก ออกฤทธิ์เร็ว
ยาผงเดือดฟู่
เป็นยาละลายน้ำได้ง่าย
ยาเม็ด
ยาเม็ดเคลือบ
ยาเม็ดที่ไม่ได้เคลือบ
ยาผง
เพื่อเก็บยาได้นานและกลิ่นรสดีขึ้นมีทั้งชนิดกินและโรยแผล
ยาแคปซูล
เป็นยาเจลลาตินเป็นปลอกหุ้มเพื่อกลบรสขมของยา
ยาเหน็บ
ใช้สอดเข้าไปในช่องเปิด
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง ใช้ทาผิวหนังและเยื่อเมือกเพื่อลดแบคทีเรีย
ครีม ป้องกันการติดเชื้อ ทำให้รู้สึกเย็นหรือใช้แต่งแผล
ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนัง
ยาพ่นฝอย
ยาฉีด
ยาดม
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์
การกระจายตัวของยา
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะนั้นๆ
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปงยา
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์อาจอยู่ที่ไซโตพลาสซึมของอวัยวะต่างๆ
มี enzyme หลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการแปรสภาพยา
ปัจจัยที่มีผลต่อ Drug metabolism
สิ่งแวดล้อม
อายุ
พันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงของยามี2ประเภท
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
กระตุ้นการออกฤทธิ์ของ
ปฏิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์
ยาบางชนิดมีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
วิธีการผลิตยา และรูปแบบยา
ขนาดยาที่ให้
ขนาดโมเลกุลของยา
คุณสมบัติในการละลายในไขมัน
ปัจจัยที่เกี่ยวกับผู้ป่วย
พยาธิสภาพของร่างกาย
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
วิธีการบริหารยา
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบเดินหายใจ
การให้ยาโดยการฉีดใน้ผิวหนัง
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
การให้ยาดูดซึมผ่านทางผิวหนัง
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อน
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อน
การให้ยาแบบเหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด
ยาเหน็บชนิดที่ออกฤทธิ์เฉพาะที่
ยาเหน็บชนิดที่ออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วมด้วย
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
ขนาดยาที่ให้ครั้งแรกเพื่อให้ถึงระดับยาที่ต้องการในพลาสมา
ระยะเวลาที่เริ่มให้ยาจนถึงยาออกฤทธิ์ที่ต้องการ
ค่าครึ่งชีวิต
ระยะเวลายาเริ่มออกฤทธิ์ที่ต้องการจนถึงหมดฤทธิ์ที่ต้องการ
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์
การจับของยากับ receptor
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาที่ใช้กับการตอบสนองที่เกิดขึ้นในร่างกาย
กลไกลการออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
ออกฤทธิ์โดยไม่จับกับreceptor
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
คำสำคัญทางเภสัชพลศาสตร์
Efficacy ความสามารถของยาที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
Potency ความแรงของฤทธิ์ยา
Affinity ความสามารถยาที่จับกับ receptor
ระดับความปลอดภัยของยา
ยาที่มีค่า therapeutic index สูงจะมีความปลอดภัยในการใช้สูง
ยาที่มีค่า therapeutic index ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ
มักทำการทดลองผ่านสัตว์ทดลอง
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
การตอบสนองมีหลายแบบ
Hypersensitivity
Tolerance การทนฤทธิ์ยา
Hyperactivity การตอบสนองของฤทธิ์ยาที่มากกว่าปกติ
Tachyphylaxis การดื้อยาที่เกิดขึ้นเร็ว
Hyporeactivity การตอบสนองของฤทธิ์ยาที่น้อยกว่าปกติ
Placebo effect ฤทธิ์หลอก
ldiosyncrasy การตอบสนองที่แตกต่างจากปกติที่ไม่พบเกิดในคนส่วนใหญ่
สาเหตุ
มีการเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบของอวัยวะที่เกิดการตอบสนองจากการกระตุ้น receptor
มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนหรือการทำงานของ receptor
การเปลี่ยนแปลงของปริมาณยาที่จะไปถึงreceptor
มีความแตกต่างกันในความเข้มข้นของ endogenous receptor ligands