Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ทางระบบประสาท, นางสาว ณัฐพร พวงอ่อน รุ่น 36/1 …
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง
Febrile convulsion
ชนิด
Primary febrile convulsion
ไม่มีความผิดปกติของสมอง
Secondary febrile convulsion
มีความผิดปกติของสมอง
การรักษา
ระยะที่กำลังมีอาการชัก
-กรณีที่มีการชักเกิน 5 นาที ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด
-ให้ยาลดไข้ ร่วมกับ เช่น ตัวลดไข้
ระยะหลังชัก
-ซักประวัติตรวจร่างกาย ให้ยาป้องกันการชัก
รับประทานทุกวันนาน 1-2ปี
โรคลมชัก
Epilepsy
ชนิด
Partial seizure
ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
Primary generalized epilepsy ไม่มีความผิดปกติในระบบประสาท
Secondary generalized epilepsy มีความผิดปกติในระบบประสาท
สาเหตุ
ได้รับอันตรายจากการคลอด
พันธุกรรม
Developmental and degenerative disorders
โรคติดเชื้อของสมอง
รอยโรคในสมองที่ทำให้เซลล์ประสาทหลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
Metabolic และ Toxic etiologies
การรักษา
รักษาโดยการใช้ยาระงับอาการชักและยาป้องกันการชักซ้ำ
รักษาตามสาเหตุที่วินิจฉัยได้
คือการจัดอาหารสัดส่วนที่มีปริมาณ ไขมันสูง คาร์โบไฮเดรตต่ำ โปรตีนต่ำ
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
**ชักจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง
หรือเนื้อสมอง**
Meningitis/Encephalitis
Meningitis
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย (Bacterial meningitis)
เชื้อไวรัส (Viral หรือ Asepitc meningitis)
พยาธิ (Eosinophilic meningitis)
เชื้อรา (Fungal memingitis)
อาการ
มีไข้ ปวดศีรษะมาก ซึมลง กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
คอแข็ง (Stiffness of neck)
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่สอดคล้องกับผลการเพาะเชื้อ
การรักษาตามอาการ
การป้องกัน ควรฉีดวัคซีน
Encephalitis
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อรา
เชื้อปาราสิต
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน
อาการ
ไข้สูง ปวดศีรษะ
ปวดบริเวณต้นคอ คอแข็ง
ซึมลง จนถึงขั้นโคม่าได้ภายใน 24 – 72 ชั่วโมง
ชัก มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร เพ้อ คลั่ง อาละวาด
การหายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ให้ออกซิเจน, เจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
การให้ยา ระงับชัก ลดอาการบวมของสมอง
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า – ออก ของร่างกาย
โรคไข้สมองอักเสบ
Japanese encephalitis (JE)
อาการ
เริ่มด้วยมีไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย ต่อไปอาการปวดศีรษะจะมากขึ้น
มีอาการอาเจียน ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว บางรายอาจชักกระตุก
อาจมีอาการหายใจไม่สม่ำเสมอ
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจแยกเชื้อไวรัส เจอี จากเลือด หรือน้ำไขสันหลัง
การรักษา
ต้องให้การดูแลรักษาเฉพาะใน Intensive care unit ให้ยาลดไข้
ลดการบวมของสมอง ระงับอาการชัก ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัด ยุงนี้จะกัดเวลาพลบค่ำ
ไม่ควรเลี้ยงหมูในบริเวณใกล้บ้านที่อยู่อาศัย
ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
โรคสมองพิการ
Cerebral Palsy
-
หมายถึง คนที่มีปัญหาการเคลื่อนไหว เนื่องจากความผิดปกติในการทำงานของสมองทำให้ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของ
อวัยวะต่างๆ
สาเหตุ
ระยะก่อนคลอด
การมีเลือดออกทางช่องคลอดของมารดาช่วงระหว่างการตั้งครรภ์เดือนที่ 6-9
ระยะคลอด
เป็นสาเหตุของสมองพิการร้อยละ 30 สมองขาดออกซิเจน
ระยะหลังคลอด
เป็นสาเหตุของสมองพิการร้อยละ 5 ได้แก่ การได้รับการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ ตัวเหลืองเมื่อแรกเกิด
อาการ
ลักษณะอ่อนปวกเปียก อาจหายใจช้า พัฒนาการช้า
การรักษา
การให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
การทำกายภาพบำบัดของกล้ามเนื้อแขน ขา หรือลำตัว
การให้ early stimulation เพื่อให้สมองส่วนต่างๆที่ไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
การแก้ไขความผิดปกติของการรับรู้ที่สำคัญ
การให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวันและการส่งเสริม
ภาวะน้ำคั่งใน โพรงสมอง
Hydrocephalus
หมายถึงภาวะที่มีการคั่งของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
1.การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
อาการ
ศรีษะโต/ หัวบาตร
เด็กเล็กที่กระหม่อมยังไม่เปิดพบว่า กระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่าปกติ
หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดำ
อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ตาทั้ง 2 ข้างกรอกลงข้างล่าง
ตาพล่ามัว เห็นภาพซ้อน
รีเฟลกซ์ และ tone ของขา2 ข้าง ไวกว่าปกติ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยการส่องไฟฉาย
การรักษา
ผ่าตัดรักษาสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง
Spina bifida
Spina bifida occulta
Meningocele
Myelomeningocele
การวินิจฉัย
มารดามีประวัติติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
การตรวจร่างกายทารกพบความผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
กลุ่มอาการดาวน์
Down ’s syndrome
อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก หัวแบนกว้าง
คอสั้นและผิวหนังด้านหลังของคอค่อนข้างมากและนิ่ม
หูติดอยู่ต่ำ brush field spot
ปากอ้าและลิ้นมักจะยื่นออก และมีรอยแตกที่ลิ้น
มือกว้างและสั้น นิ้วก้อยโค้งงอ
ร่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้กว้าง
การรักษา
การกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสม
การรักษาโรคทางกายอื่นๆที่มีร่วมด้วย
การให้คำปรึกษาแนะนำด้านพันธุกรรม
นางสาว ณัฐพร พวงอ่อน รุ่น 36/1
เลขที่ 39 รหัสนักศึกษา612001040