Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 - Coggle Diagram
บทที่ 1
ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ความหมายของยา
วัตถุที่รับรองในตำรายา
ใช้ในการวินิจฉัย บำบัด
บรรเทา รักษา ป้องกันโรค
เภสัชเคมีภัณฑ์หรือ
เภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป
เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง
เภสัชวิทยา
ศึกษาคุณสมบัติของยาและฤทธิ์
เภสัชกรรม
ศึกษาการเตรียมยา ผสมยาและจ่ายยา
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาแผนปัจจุบัน
ยาแผนโบราณ
ยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาใช้ภายนอก
ยาใช้เฉพาะที่
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาบรรจุเสร็จ
ยาสมุนไพร
แบ่งตามเภสัชตำรับ
ตำแหน่งการออกฤทธิ์
ประโยชน์การรักษา
กลไกการออกฤทธิ์
แหล่งที่มาของยา
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากพืช
ได้จากส่วนต่างๆของพืชโดยตรง
เรียกว่า ยาสมุนไพร
จากสัตว์
สกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์
จากแร่ธาตุ
ไอโอดีน
ทองแดง
น้ำมันเกลือแร่
จากการสังเคราะห์
อาศัยปฏิกิริยาทางเคมีในห้องปฏิบัติการ
กาเรียกชื่อยา
เรียกชื่อตามสูตรเคมี
ตามลักษณะส่วนประกอบทางเคมี
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือตัวยา
แบ่งเป็นกลุ่มๆ
ยานอนหลับ
ยาแก้ปวดลดไข้
เรียกชื่อตามการค้า
ผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายยาเป็นผู้ตั้งและขอจดทะเบียน
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
รูปแบบที่เป็นของแข็ง
ยาแคปซูล
ยาเม็ด
ยาอมใต้ลิ้น
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ยาอม
ยาผงเดือดฟู่
ยาผง
ยาเหน็บ
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ตัวทำละลายเป็นน้ำ
น้ำปรุง
ยาน้ำใส
ยาน้ำเชื่อม
ยาจิบ
ยากลั้วคอ
ยาอมบ้วนปาก
ยาหยอดจมูก
ยาหยอดหู
ยาสวนล้าง
ยาน้ำสวนทวารหนัก
ตัวทำละลายไม่ใช่น้ำ
ยาอิลิกเซอร์
ยาสปริริต
ยาโคโลเดียน
ยากลีเซอริน
ยาถูนวด
ยาป้าย
ยาน้ำกระจายตัว
เจล
ลักษณะเป็นกาว
โลชั่น
ชนิดใช้ภายนอก
แมกมาและมิลล์
เป็นยาแขวนตะกอนคล้ายเจล
มิกซ์เจอร์
อาจใส่หรือไม่ใส่ยาแขวนตะกอน
อิมอลขั่น
ยากินและยาทาเฉพาะที่
ประเภทกึ่งของแข็ง
ขี้ผึ้ง
ครีม
ประเภทอื่นๆ
ยาฉีด
ยาทาผิวหนัง
ยาพ่นฝอย
ยาดม
หลักทั่วไปทางเภสัชวิทยา
เภสัชจลนศาสตร์
การเป็นไปของยาเมื่อเข้าสู่ร่างกาย
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
การดูดซึมยา
อัตราและปริมาณยาที่ถูกนำเข้าสู่กระแสโลหิต
Bioavailability
อัตราส่วนของยาไม่ถูกเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
ขนาดโมเลกุลของยา
วิธีการผลิตยา
ขนาดยาที่ให้
คุณสมบัติการละลายในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
คุณสมบัติเป็นกรดอ่อน
คุณสมบัติเป็นด่างอ่อน
ให้ยาผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
ยาที่ละลายไขมันได้ดี
คุณสมบัติเป็นด่าง
ให้ยาผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
ให้ยาโดยการฉีดใต้ผิวหนัง
ให้ยาดูดซึมผ่านผิวหนัง
ให้ยาแบบเหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด
ยาเหน็บออกฤทธิ์เฉพาะที่
ยาเหน็บออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย
พยาธิสภาพของร่างกาย
ท้องเสีย
ท้องผูก
คลื่นไส้อาเจียน
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
การได้รับอาหารหรือยาชนิดอื่นร่วมด้วย
การกระจายตัวของยา
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ปริมาณการไหลเวียนของเลือด
คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
ความสามารถในการผ่านเข้าสมองและรก
การสะสมขอยาที่ส่วนอื่น
การแปรสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา
การแปรสภาพยา
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีของยา
เอนไซม์และตับสำคัญกับการแปรสภาพยา
ความสำคัญ
กระตุ้นการออกฤทธิ์
สิ้นสุดการออกฤทธิ์
เอนไซม์
เอนไซม์อาจะอยู่ที่ไซโตพลาสซึม
ร่างกายมีเอนไซม์หลายชนิด
ปฏิกิริรยาการเปลี่ยนแปลง
Phase l reaction
เอนไซม์เปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของยา
ทำให้ยาเป็น Polar metabolite มากขึ้น
ขับถ่ายออกจ่างร่างกาย
Phase ll reaction
ไม่มีความเป็น polar มากพอ
ละลายในน้ำได้ดีขึ้น
ผลต่อ drug metabolism
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
คนสูบบุหรี่ metabolize ยาได้เร็วกว่า
คนทำงานอุตสาหกรรม metabilize ยาได้เร็วกว่า
อายุ
เด็กและผู้สูงอายุไวต่อฤทธิ์และพิษของยามากกว่าผู้ใหญ่
ปฏิกิริยาระหว่างการเกิด metabolism
คุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์
มีการเปลี่ยนแปลงยา
ทำลายยาอื่นอย่างรวดเร็ว
คุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์
มีระยะเวลาในการออกฤทธิ์นานขึ้น
ระดับยาในร่างกายเพิ่มขึ้นและสูง
การขับถ่ายยา
ร่างกายกำจัดยาออก
ไต
ตับ
น้ำดี
ปอด
คำสำคัญ
Half life
เวลาในการให้ยา
ลดความเข้มข้นของยา 50%
Loading dose
การให้ยาขนาดสูงและรวดเร็ว
Onset
ระยะเวลาในการให้ยาจนยาออกฤทธิ์
Duration of action
ระยะเวลาในการให้ยาจนยาหมดฤทธิ์
เภสัชพลศาสตร์
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ไม่จับกับ receptor
Chemical action
Physical action
ออกฤทธิ์โดยจับกับ receptor
ตัวรับ (receptor)
ส่วนใหญ่อยู่ผนังเซลล์ของสารสื่อประสาท
Agonist
ทำให้เกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
Antagonist
ลดหรือบดบังฤทธิ์ของ agonist
Partial agonist
ออกฤทธิ์บางส่วน
คำสำคัญ
Affinity
ความสามารถการเข้าจับ receptor
Efficacy
ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
Potency
ความแรงของฤทธิ์ยา
ความปลอดภัยของยา
ความปลอดภัยของยามักทำการทดลองผ่านสัตว์
therapeutic index มีค่าสูง
ปลอดภัยสูง
therapeutic index มีค่าต่ำ
ปลอดภัยต่ำ
การแปรผันการตอบสนองยา
Idiosyncrasy
ตอบสนองแตกต่างจากปกติ
Hyporeactivity
ตอบสนองยาน้อยกว่าปกติ
Hyperactivity
ตอบสนองยามากกว่าปกติ
Hypersensitivity
การแพ้ยา
Tolerance
การดื้อยาหรือทนฤทธิ์ยา
Tachyphylaxis
การดื้อยา
Placebo effect
ฤทธิ์หลอก
สาเหตุการตอบสนอง
การเปลี่ยนแปลงปริมาณยา
ความแตกต่างความเข้มข้น
การเปลี่ยนแปลงจำนวนหรือการทำงาน
การเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบอวัยวะ