Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 6.2 ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
บทที่ 6
6.2 ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
หัวใจล้มเหลว (Heart failure)
อาการและอาการแสดงของหัวใจล้มเหลว
อาการเหนื่อย (Dyspnea) เป็นอาการสําคัญของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว
อาการเหนื่อยขณะที่ออกแรง (Dyspnea on exertion)
อาการเหนื่อย หายใจไม่สะดวกขณะนอนราบ (Orthopnea) เนื่องจากในท่านอนของเหลวจาก บริเวณท้อง
อาการหายใจไม่สะดวกขณะนอนหลับและต้องตื่นขึ้นเนื่องจากอาการหายใจไม่สะดวก
อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย (Dependent part) เช่นเท้า ขา เป็นลักษณะบวม กดบุ๋ม
อ่อนเพลีย(Fatigue)เนื่องจากการที่มีเลือดไปเลี้ยงร่างกายลดลงทําให้สมรรถภาพของร่างกายลดลง
แน่นท้อง ท้องอืด เนื่องจากตับโตจากเลือดคั่งในตับ (Hepatic congestion) มีน้ําในช่องท้อง (Ascites) อาจพบอาการคลื่นไส้เบื่ออาหารร่วมด้วย
การวินิจฉัย
1) การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย ภาพถ่ายรังสีทรวงอก (Chest X-ray, CXR)
2) คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiography)
3) การตรวจเลือด
Complete blood count (CBC):
การทํางานของไต (Renal function)
การตรวจการทํางานของตับ (Liver function test)
4) การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงหัวใจ (Echocardiography)
การพยาบาล
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของหัวใจในการบีบเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ได้ดีขึ้น มี การคั่งของน้ําในร่างกายลดลง ดูแลให้ผู้ป่วยได้ Bed rest
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา (Fowler’s position) หรือนั่งฟุบบนโต๊ะข้างเตียง เพื่อช่วยลดปริมาตร เลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจและช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น ลดอาการเหนื่อยหอบ
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง : ควรประเมินจนกว่าอาการจะปกติ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิมคือตอนเช้าหลังถ่ายปัสสาวะเพื่อประเมินภาวะน้ําเกิน
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรงให้ จํากัดประมาณ 800-1,000 ซีซี/วัน เพื่อช่วยลดปริมาตรสารน้ําที่มากเกิน
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วยด้วยภาวะหัวใจวายได้ดังนี้ประเมินความรู้สึกและปัญหาต่างๆ ของผู้ป่วยพร้อมทั้งซักถามความต้องการของผู้ป่วย
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในการควบคุมอาการของภาวะหัวใจวายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ดังนี้ประเมินความพร้อมในการรับรู้ข้อมูลของผู้ป่วย ญาติ มีการประเมินวิถีชีวิตของผู้ป่วยโดยพิจารณา ตามอายุ อาชีพ บุคลิกภาพ แรงจูงใจ ลักษณะครอบครัวรวมไปถึงความร่วมมือ ในการรักษา
Shock
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ผู้ป่วยอยู่ในภาวะปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ำลงเนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะช็อค
1) ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพอาการอาการแสดงของShockและระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยทุก 10 นาที
2) ดูแลให้ได้รับสารน้ํา0.9%NSSloadจนครบ
3) ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ Ceftriazone 2 gm Intravenous drip in 1 hr (Septic shock)
4) บันทึกจํานวนปัสสาวะที่ออกเพื่อประเมินหน้าที่การทํางานของไตผู้ป่วยปัสสาวะได้เอง
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาLevophedอาจเกิดภาวะยาดังเฉพาะที่หรือรั่วซึมออกนอก หลอดเลือดเกิดเนื้อตายได้
1) เพื่อเพิ่มความดันโลหิตและผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวข้างต้น โดยดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาเข้าทางหลอดเลือดดําใหญ่ตรง Antecubital vein โดยใช้ infusion pump
2) ตรวจวัดความดันโลหิตและอัตราหัวใจเต้นทุก 10 นาที เมื่อ IV ครบ 1,000 ml ความดันโลหิต อัตรา การเต้นของหัวใจปกติ จึงค่อย Titrate Levophed เพิ่มทีละ 5 ml / hr. ร่วมกับให้สารน้ําจนครบ1,500 ml
3) ประเมินผลความดันโลหิตอัตราหัวใจเต้นและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจลดลง
1) ดูแลส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดโดยจัดท่านอนและให้ออกซิเจน
2) ObserveO2Saturationเพื่อให้เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนและการแลกเปลี่ยนก๊าซอย่างเพียงพอ
3) ประเมินสัญญาณชีพO2Saturationทุก15นาที
ผู้ป่วยและญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
1) เพื่อบรรเทาความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติโดยให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
2) ให้คําอธิบายตอบข้อซักถามเกี่ยวกับภาวะโรคและแผนการรักษา
มีไขจ้ ากมีการติดเชื้อในกระแสเลือด (Septic shock)
1) ลดไข้และให้ผู้ป่วยมีความสุขสบายโดยดูแลเช็ดตัวลดไข้
2) ประเมินภาวะไข้
การแบ่งประเภทของช็อก (Classification of shock)
Low cardiac output shock (Hypodynamic shock) เป็นภาวะช็อกที่ Cardiac output ต่ํา และ เป็นภาวะช็อกที่หลอดเลือดตีบ (Vasoconstriction)
1) Hypovolemic shock
2) Cardiogenic shock
3) Obstructive shock
High cardiac output shock (Distributive shock, hyperdynamic shock) เป็นภาวะช็อกที่
cardiac output สูง และเป็นภาวะช็อกที่หลอดเลือดขยายตัว (Vasodilatation)
1) Septic shock
2) Anaphylactic shock
3) Endocrinologic shock
4) Neurogenic shock
5) Drug and toxin
Supportive treatment
Airway: กรณีที่มี Upper airway obstruction ควรทําการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Breathing: ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย เพื่อเพิ่ม Oxygen delivery โดยอาจใช้ Oxygen cannula, mask, mask with bag ในกรณีที่มี Respiratory failure ให้พิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ
Circulation: พิจารณาการให้สารน้ําหรือ Vasopressors / inotropes ตามสาเหตุของช็อกแต่ละประเภท
Fluid therapy
Hypovolemic shock
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Distributive shock (High cardiac output shock)