Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม, image, image, a518aee14298bd83dee33553c35fff…
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม (Culture)
ใช้ครั้งแรกโดย Marcus Tullius Cicero2 นักปรัญชาชาวโรมัน 2 เขาเกิดวันที่ 3 มกราคม ปีที่ 106 ก่อนคริสตกาล และเสียชีวิต วันที่ 7 ธันวาคม ปีที่ 43 ก่อนคริสตกาล ในวัย 63 ปี
คำว่า "cultura” แปลว่า การเพาะปลูกและบารุงให้เจริญงอกงาม (cultivation) มาใช้อธิบายการเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณ (Cultivation of The Soul) (Douglas 2001)
ต่อมาในศตวรรษที่ 17 คาว่า “Culture” ถูกนามาใช้เพื่อ อธิบายความเจริญงอกงามของปัจเจก โดยเฉพาะในประเด็นการศึกษา
ภาษาอังกฤษ คาว่า “culture” มีรากศัพท์มาจากมาจากภาษาละติน "cultura animi"
ย่างเข้าสู่ศตวรรษที่ 18 และ 19 คำว่า “Culture” จึงถูกนาไปใช้เพื่อสื่อความหมายถึงผู้คนในลักษณะเป็นกลุ่มคน สังคม หรือ เป็นชาติมากขึ้น
วัฒนธรรม คือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดค้นเพื่อช่วยให้สามารถดารงชีวิตอยู่ต่อไปได้ในสังคมของตน
ประเทศไทย คำว่า “วัฒนธรรม” ถูกนามาใช้อย่างเป็นทางราชการครั้งแรก ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม5 อันเป็นของยุคการประกาศนโยบายสร้างชาติ หรือ รัฐนิยม6
จอมพล ป.พิบูลสงครามซึ่งต้องการ “แก้ไข” วัฒนธรรม ให้เป็นเครื่องแสดงความเป็นอารยะของชาติไทย ได้ตราพระราชบัญญัติ บารุงวัฒนธรรมแห่งชาติ ฉบับแรกขึ้นในปี พ.ศ. 2483 และ ฉบับที่ 2 ในปี พ.ศ. 2485
ต่อมาแก้ไขเป็นพระราชบัญญัติวัฒนธรรม แห่งชาติ พุทธศักราช 2485 กาหนดให้มีสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ เพื่อที่จะกาหนดดูแลในเรื่องเกี่ยวกับ วัฒนธรรม อันนาไปสู่ข้อกาหนดในเรื่องการแต่งกาย การสวมหมวก สวมรองเท้า การห้ามอาบน้าในที่สาธารณะ และการเลิกกินหมากพลู
ปัจจุบันในภาษาไทยมีผู้ให้ความหมายของคำว่า “วัฒนธรรม”
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ความเจริญงอกงาม ที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับสังคม และมนุษย์กับธรรมชาติ
จำแนกออกเป็น 3 ด้าน
ด้านสังคม
ด้านวัตถุ
ด้านจิตใจ
มีการสืบทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง จากสังคมหนึ่งไปยังอีกสังคมหนึ่ง จนกลายเป็นแบบแผนซึ่งจะช่วยให้มนุษย์สามารถดารงชีวิตอย่างมีความสุข สันติสุขและอิสรภาพ
ดร. โกวิท ประวาลพฤกษ์
วิถีชีวิตการปฏิบัติและสิ่งของที่เป็นผลมาจากการสะสมถ่ายทอดจากกลุ่มบุคคลหนึ่งถ่ายทอดไปสู่รุ่นถัดไป เพื่อแสดงความเป็นเอกลักษณ์ หรือเครื่องบ่งชี้ความเป็นกลุ่มชนของกลุ่มบุคคลนั้นๆ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2555
สิ่งที่แสดงถึงความเจริญงอกงามของสังคมทั้งทางด้านจิตใจและวัตถุ
ศีลธรรม วัฒนธรรมในการแต่งกาย
มารยาทที่ขัดเกลาเรียบร้อย
ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
รู้จักควบคุมอารมณ์
ศ.ดร. สาโรจ บัวศรี
ความดี ความงามและความเจริญในชีวิตซึ่งปรากฏในรูปธรรมต่าง และได้ตกทอดมาถึงคนรุ่นหลังในปัจจุบัน หรือที่มนุษย์เราได้ปรับปรุงและสร้างสรรค์ขึ้นในสมัยของเราเอง
สรุปวัฒนธรรม (Culture) หมายถึงวิถีการดาเนินชีวิต (The Way of Life) ของคนในสังคม ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
ลักษณะพื้นฐานที่สำคัญของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (Symbol)
พฤติกรรมของมนุษย์มีต้นกาเนิดมาจากการใช้สัญลักษณ์
สัญญาณจราจร🚦
สัญลักษณ์ทางศาสนา
เงินตรา 💰
ภาษา
มนุษย์สามารถเรียนรู้และถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้
วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
ทำหน้าที่ตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์
มีการวางกฎเกณฑ์แบบแผนในการดำเนินชีวิต
มีการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (Culture is learned)
มนุษย์จะเรียนรู้ทีละเล็กทีละน้อยในสังคมจนกลายเป็น “มรดกสังคม”
วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (Shared ideas) และค่านิยมทางสังคมเป็นตัวกาหนดมาตรฐานพฤติกรรม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ประเภทของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture)
สิ่งของหรือวัตถุอันเกิดจากความคิดและการประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
เช่น
ชาม
ช้อน
จาน
ส้อม
ถ้วย
ตึกรามบ้านช่อง
ถนนหนทาง
ศิลปกรรมของมนุษย์
ภาพวาด
รูปปั้น
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture)
วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดยทัศนะ ประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มของตน ว่าดีงามเหมาะสม
ภาษา
ศีลธรรม
ความเชื่อ
ปรัชญา
ความคิด
กฎหมาย
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์การหรือสมาคม (Organization หรือ Association)
มีโครงสร้างซึ่งสามารถมองเห็นได้
มีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ข้อบังคับ รวมทั้งระเบียบวิธีประพฤติปฏิบัติขององค์การหรือสมาคมนั้นๆ
สถาบันทางสังคมต่างๆ
กลุ่มหรือองค์กรต่างๆ
สมาคม
ชมรม
สหภาพ
บริษัท
วัฒนธรรมในส่วนของการจัดระเบียบเป็นองค์การหรือสมาคม
องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage หรือ Ceremony)
วัฒนธรรมในส่วนของพิธีหรือพิธีการต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น
นับตั้งแต่การเริ่มต้นของชีวิต คือ การเกิดจนกระทั่งตาย
พิธีบวชนาค
พิธีแต่งงาน
พิธีโกนจุก
พิธีงานศพ
พิธีรับขวัญเด็ก
การแต่งกาย
มารยาททางสังคมต่างๆ
พิธีเหล่านี้ได้จัดกระทาขึ้นเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งพิธีการต่างๆ ที่สังคมกำหนดขึ้น
องค์วัตถุ (Material)
หมายถึง วัฒนธรรมในด้านวัตถุที่มีรูปร่างสามารถจับต้องได้
เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
ภาพเขียน
สิ่งก่อสร้างต่างๆ
การสร้างสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายต่างๆ
ภาษาและการสื่อความหมายต่างๆ
เป็นเครื่องมือและสัญลักษณ์ (Instrumental And Symbolic Objects)
องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)
วัฒนธรรมในด้านความคิด ความเชื่อ และอุดมการณ์ต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับมาจากคาสอนทางศาสนา
ความเชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม
ความเชื่อในพระเจ้า
ความเชื่อในเรื่องบาปบุญ
การมีอุดมการณ์ทางการเมือง
ความสำคัญของวัฒนธรรม
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม เพราะวัฒนธรรมคือกรอบหรือแบบแผนของ การดำรงชีวิต
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
การศึกษาวัฒนธรรมจะทาให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม เจตคติความคิดเห็นและความเชื่อถือของบุคคลได้อย่างถูกต้อง
ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
เป็นเครื่องกาหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม และเป็นเครื่องกำหนดชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคม
มีวัฒนธรรมไทยในประเพณีสงกรานต์ คือ การรดน้ำดำหัว
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
ความเชื่อ หมายถึง การยอมรับคาอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ที่บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม และถ่ายทอดสืบต่อกันมาจนตกผลึกเป็นแบบแผนทางวัฒนธรรมของสังคม
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
เกิดจากประสบการณ์ตรง
เกิดจากการแลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
ความเชื่อแบบประเพณี
ภาคเหนือเชื่อในเรื่องเกี่ยวกับผีและอานาจเหนือธรรมชาติเกี่ยวกับป่า ภูเขาและลำน้ำ ความเชื่อเกี่ยวกับการบูชาพระธาตุและผีวีรบุรุษ
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
เชื่อว่าพระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก น้ำทะเลมีรสเค็ม
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ความเชื่อเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร 5 หมู่
การบริโภคนมแม่
ความเชื่อที่มีต่อหลักคาสอนในพระพุทธศาสนาเรื่องการมีสติ ความไม่ประมาท การบำเพ็ญเพียร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ทางสังคมและวัฒนธรรม
การควบคุมทางสังคม
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
การขัดเกลาทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ทางด้านบุคคล
อายุ
เพศ
ศาสนา
การศึกษา
อาชีพ
ทางด้านจิตวิทยา
การรับรู้ และการเรียนรู้
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
แบบการแพทย์แผนตะวันตก
เช่น
ความเจ็บป่วยเกิดจากพฤติกรรม
ความเจ็บป่วยเกิดจากสิ่งแวดล้อมหรืออุบัติเหตุ
ความเจ็บป่วยเกิดจากพันธุกรรม
ความเจ็บป่วยเกิดจากจิตใจ
การเจ็บป่วยเกิดจากเชื้อโรค
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ
ปัญหาทางด้านสังคม
ปัญหาทางวัฒนธรรม
การทำแท้ง
การทำร้ายร่างกาย
วิธีการดูแลสุขภาพ
ผู้ให้การดูแลรักษา
ผู้ให้การดูแลด้านเภสัชกรรม
ผู้ให้การดูแลด้านการพยาบาล
ผู้ให้การรักษา
แพทย์หรือหมอที่ได้ผ่านการเรียนทางด้านแพทย์ศาสตร์มาโดยเฉพาะ
ผู้ให้การดูแลด้านการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ
ผู้ให้การดูแลด้านการฟื้นฟูสุขภาพ
บุคลากรอื่น ๆ
เจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค
เจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคการแพทย์
มีการวินิจฉัยหาสาเหตุของความเจ็บป่วย
ช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
แบบแพทย์ตะวันตก
การตั้งครรภ์
เป็นภาวะที่ตัวอ่อนหรือทารกได้ก่อกาเนิดขึ้นภายในมดลูก
การดูแลสุขภาพ
มีหลักการดูแลคล้ายคลึงการแบบพื้นบ้าน
มีวัตถุประสงค์ให้มารดาและทารกสมบูรณ์แข็งแรง
ผ่านทุกระยะของกระบวนการให้กา เนิดได้อย่างปลอดภัย
มีในระยะตัง้ ครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด
แบบพื้นบ้าน
ระยะคลอดบุตร
ความเชื่อเกี่ยวกับการคลอดบุตร
เรื่องความเป็นสิริมงคล
ท่าทางในการคลอด
การดูแลสุขภาพ
การตรวจครรภ์ก่อนคลอด
การคลอด
การจัดสถานที่และท่าทางในการคลอด
การจัดการเกี่ยวกับรก
การร่อนกระด้ง
ระยะตั้งครรภ์
ความเชื่อเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
คนโบราณเชื่อว่าการตั้งครรภ์เป็นผลจากความสัมพันธ์ของมนุษย์กับดวงดาวในระบบจักรวาล
การดูแลสุขภาพ
จะเกี่ยวกับสุขภาพจิต สุขภาพกาย การดูแลทารกในครรภ์ การฝากครรภ์
ระยะหลังคลอด
ความเชื่อเกี่ยวกับภาวะหลังคลอด
ความเชื่อเรื่องกรรม
ความเชื่อเรื่องสมดุลธาตุ 4
ความเชื่อเรื่องผี
ความเชื่อเรื่องมลทินของร่างกาย
ความเชื่อเรื่องการบารุงร่างกาย
การดูแลสุขภาพ
การนาบหม้อหรือการทับหม้อเกลือ
การนวดหลังคลอด
การอยู่ไฟ
การเข้ากระโจมหรือการอบสมุนไพร
การอาบสมุนไพร
การงดบริโภคอาหารแสลง
การบำรุงร่างกาย
การประคบสมุนไพร
แบบพื้นบ้าน
วิธีการดูแลสุขภาพ
ทำการวินิจฉัยโรค การรักษา จนถึงทาการปลงขัน ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการสวมบทบาทของผู้ป่วย เพื่อก้าวข้ามผ่านไปสู่สภาวะปกติ
ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพ
หมอเป่า
หมอกระดูกหรือหมอน้ำมัน
หมอสมุนไพร
หมอนวด
หมอตาแย
มีการทำพิธีตั้งขันข้าวหรือการตั้งคายซึ่งเป็นการไหว้ครู เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการรักษา รวมไปถึงพิธียอครูหรือบนครู
เช่น
ความเจ็บป่วยที่เกิดจาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการบริโภคอาหารแสลงโรค
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากเชื้อโรค
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการขาดสมดุลธาตุ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากอุบัติเหตุ
ความชรา
แบบพื้นบ้าน
ปัจจัยชี้บ่งถึงความชรา
การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในเพศชาย
ความแปรปรวนของธาตุลม
ภาวะหมดประจาเดือนในเพศหญิง
การดูแลสุขภาพ
การดูแลอาหาร
การดูแลด้านสุขภาพทางเพศ
การใช้สมุนไพร เช่น สมุนไพรตำรับ (ยาดอง ยาบารุง) สมุนไพรเดี่ยว (โสม บัวหลวง กวาวเครือขาว ขี้เหล็ก)
การดูแลสุขภาพโดยพึ่งพิงศาสนา
แบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความชรา กำหนดอายุตั้งแต่ 60 หรือ 65 ปีขึ้นไป เป็นเกณฑ์เข้าสู่วัยชรา
การดูแลสุขภาพ
การดูแลด้านฮอร์โมน
การดูแลด้านการออกกาลังกาย
การดูแลด้านโภชนาการ
การดูแลด้านการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลด้านอุบัติเหตุ
การดูแลด้านจิตใจ
แบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
วิธีการดูแลสุขภาพ
ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์
กลุ่มหมอสะเดาะเคราะห์
กลุ่มหมอธรรม
กลุ่มหมอดู
กลุ่มหมอตำรา
ส่วนใหญ่ใช้การประกอบพิธีกรรมเป็นหลัก ครอบคลุมตั้งแต่การวินิจฉัยหาสาเหตุและกระบวนการในการรักษา
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค
ความเจ็บป่วยเกิดจากเวทมนต์และคุณไสย
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากขวัญ
ความเจ็บป่วยเกิดจากการกระทำของผี
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากเคราะห์หรือโชคชะตา
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการละเมิดขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากที่ตั้งของภูมิศาสตร์
ความตาย
แบบพื้นบ้าน
มีความเชื่อในเรื่องวิญญาณ กฎแห่งกรรม การเวียนว่ายตายเกิดและชาติภพ
การดูแลสุขภาพ
มุ่งเน้นการตอบสนองทางด้านจิตวิญญาณของผ้ตูายและเครือญาติ
ให้สร้างสมความดีและผลบุญเพื่อการตายอย่างสงบ เกิดความสุขความเจริญในภพหน้า
แบบแพทย์แผนตะวันตก
พิจารณาจากการหยุดทำงานของหัวใจและการทางานของแกนสมอง
การดูแลสุขภาพ
มุ่งเน้นให้ระบบและอวัยวะต่าง ๆ สามารถทำงานต่อไปได้
ยืดชีวิตผู้ป่วยให้ยาวนานมากที่สดุ ภายใต้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย
ค่านิยมทางสังคม
เป็นลักษณะเฉพาะที่คนในสังคมนั้นๆ ยึดถือว่ามีคุณค่าร่วมกัน
เกิดจากการอบรมบ่มนิสัยหรือการปลูกฝังค่านิยมตั้งแต่ในวัยเด็ก จนเกิดความเคยชินและหล่อหลอมจนกลายเป็นบุคลิกภาพ
เป็นวัฒนธรรมที่กาหนดพฤติกรรมของสมาชิกสังคมนั้นๆ โดยตรง ทุกสังคมจึงมีระบบค่านิยมของตนเอง
เช่น คนทางตะวันตกมองว่าคนเอเชียขาดความกระตือรือร้น ส่วนคนเอเชียก็มองว่าคนตะวันตกนิยมวัตถุและเห็นแก่ตัว
ความหมาย
ภาสวรรณ ธีรอรรภ
เป็นสื่งที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติและพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งค่านิยมจะนำไปสู่การเกิดพฤติกรรม
พัชรา ทิพยทัศน์
เป็นสิ่งที่มีในตัวของบุคคลแต่ละคน และมีอิทธิพลต่อสิ่งที่คิดและสิ่งที่ทำ
เป็นสิ่งที่กาหนดให้มีการพัฒนาการไปสู่สิ่งใหม่ๆ
เป็นสิ่งบ่งชี้ความต้องการ
คนทุกคนหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งจะมีค่านิยมประจำกลุ่มซึ่งมีแตกต่างกันไป
ความแตกต่างกันของค่านิยมเป็นตัวกาหนดความแตกต่าง
ฐิตินัน บุดภาพ คอมมอน
ความคิด ความเชื่อ ความนิยม รวมทั้งพฤติกรรมและแบบแผนในการปฏิบัติ
ปัจจัยทางสังคมที่ทำให้เกิดค่านิยม
สถาบันศาสนา
บุคคลและหน่วยงานของศาสนาต่างๆ ก็มีส่วนช่วยในการปลูกฝังค่านิยมและศีลธรรมอันถูกต้องได้เป็นอย่างดี
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
การคบหาสมาคมกับเพื่อนในรุ่นเดียวกันไม่ว่าจะเป็นกลุ่มเพื่อนสนิท หรือการทำกิจกรรมอื่นๆในสังคมวัยรุ่น ผลที่ได้รับอันหนึ่งคือ การเรียนรู้และการยอมรับค่านิยมจาก
โรงเรียน
การอบรมปลูกฝังค่านิยมนั้นครูจะต้องมีการติดตามอยู่ทุกระยะ ถ้าเห็นข้อบกพร่องก็ต้องรีบแก้ไข
ค่านิยมที่โรงเรียนสอนมานั้นอาจแตกต่างหรือไม่สอดคล้องกับค่านิยมจากสื่งที่ครอบครัวสั่งสอน เมื่อมีความขัดแย้งเด็กมักจะเกิดความสับสนและเลือกไม่ถูกว่าควรยึดเอาคาสอนใดมาปฏิบัติ
สถาบันทางสังคมที่มีส่วนในการสร้างค่านิยมอันถูกต้องให้แก่เด็กเป็นอย่างมากในการสั่งสอนเด็กให้เกิด ความคิด ความเชื่อ อันจะนาไปสู่แบบแผนการมีพฤติกรรมที่ดี
สื่อมวลชน
บางกรณีบุคคลก็ยอมรับเอาความรู้ และความคิดเหล่านั้นไปยึดถือเป็นค่านิยมบางประการของตน
เช่น ค่านิยมในการแต่งกายตามสมัยนิยม ทรงผม
สื่อมวลชนมักนาความคิดเช่นนี้ออกไปเผยแพร่ คนในสังคม โดยเฉพาะเด็กและวัยรุ่นจะรับเอาความคิดนี้เข้าไว้โดยไม่รู้ตัว
ในด้านความรู้และความคิดสื่อมวลชนย่อมมีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ความคิดหลายๆ อย่าง
ถ้าความคิดนั้นสอดคล้องกับความต้องการของเด็ก เขาก็จะติดตามเรื่องนั้นมากขึ้นไม่นานค่านิยมใหม่ก็จะเกิดขึ้นโดยอาศัยสื่อมวลชน
ครอบครัว
เป็นหน่วยแรกที่อบรมสั่งสอนพฤติกรรมสังคมให้แก่คนตั้งแต่เกิดจนโต
สิ่งใดที่ครอบครัวอบรมสั่งสอนไว้ หรือสิ่งใดที่ครอบครัวเรียกร้องย่อมมีผลต่อการปฏิบัติของคนอยู่ไม่มากก็น้อย
เป็นสถาบันสังคมอันดับแรกที่มีอิทธิพลต่อการสร้างค่านิยมให้แก่บุคคล
องค์การของรัฐบาล
รัฐยังตรากฎหมายให้สิทธิและอานาจแก่ครอบครัวในการเลี้ยงดูและอบรมเด็ก
การเผยแพร่ข่าวและความคิดของสื่อมวลชนก็มักอยู่ภายใต้การควบคุมหรือสนับสนุนของรัฐ
รัฐจะควบคุมโรงเรียนและสนับสนุนสถาบันศาสนาให้ทาหน้าที่ในด้านนี้
รัฐมีบทบาทสาคัดในการปลูกฝังค่านิยมให้แก่คนในสังคม ถ้าไม่ได้กระทำโดยทางตรงก็กระทำโดยทางอ้อม
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
ประเภท
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
มีวัตถุประสงค์เพื่อทาให้คนในสังคมมีสุขภาพดี แข็งแรงสมบูรณ์
ประเภท
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
การเข้าวัด ถือศีล ทำสมาธิ ทำบุญตักบาตร
การออกกำลังกาย
การกินอาหารประเภทน้ำพริกผักจิ้มและอาหารจากธรรมชาติ
งดบริโภคสุราและสิ่งเสพติด
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
การคว่ำกะลาหรือใส่ทรายอะเบท เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของยุงลาย
การรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค
การบริโภคอาหารปรุงสุก
แบบแผนทางวัฒนธรรมของสังคมที่มีกาหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตของคนในสังคม
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
การรับรู้ของบุคคลที่มีต่อความผิดปกติของร่างกาย
ประเภท
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
ในแต่ละสังคมต่างมีระบบการดูแลสุขภาพที่มีความเชื่อมโยงกัน 3 ประเภท
ระบบการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
ระบบการดูแลสุขภาพแบบวิชาชีพ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
การงดบริโภคอาหารแสลง
การออกกาลังกายเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง
การดูแลการพักฟื้นของผู้ป่วยจากคนในครอบครัว
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
Campinha-Bacote
เป็นกระบวนการที่ประกอบด้วยแนวคิดหลัก 5 ประการ
โดย ใช้หลัก ASKED
หลัก ASKED
K = Knowledge
การแสวงหาความรู้พื้นฐานที่ เกี่ยวข้องกับโลกทัศน์ (world view) ของบุคคลที่มีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม เพื่อให้สามารถเข้าใจโลก ทัศน์ของผู้รับบริการผ่านมุมมองของผู้รับบริการเอง (emic view)
สามารถศึกษาได้จาก ศาสตร์ต่าง ๆ เช่น การบริการข้ามวัฒนธรรม มานุษยวิทยาการแพทย์ มานุษยวิทยาทางวัฒนธรรม จิตวิทยา ต่างวัฒนธรรม และสังคมวิทยา
การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
องค์ความรู้พื้นฐานทางวัฒนธรรมยังรวมไปถึงลักษณะเฉพาะ ทางด้านร่างกาย ชีววิทยา และสรีรวิทยาที่มีความแตกต่างกันในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์
E = Encounter
การที่บุคลากรสุขภาพมีความสามารถในการจัดบริการที่เหมาะสมสาหรับผู้รับบริการที่มีภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่
แตกต่างกัน มีการสื่อสารทั้งทาง วัจนภาษา และอวัจนภาษา อย่างถูกต้องเหมาะสม ตามกาลเทศะของแต่ละ วัฒนธรรม
การหาประสบการณ์โดยการเข้าไปอยู่ร่วม ในสังคมต่างวัฒนธรรม จึงเป็นสิ่งสำคัญเพราะ ประสบการณ์ในลักษณะนี้จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม
S = Skill
ความสามารถของบุคลากรสุขภาพในการเก็บ ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติและปัญหาของผู้รับบริการ
การมีความไวทางวัฒนธรรม (cultural sensitivity)
การมีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม
การเรียนรู้วิธีประเมินความต่างทางวัฒนธรรม (cultural assessment)
การประเมินสุขภาพ เพื่อให้ได้มา ซึ่งความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และครอบคลุม
นำไปสู่การสร้าง ความร่วมมือกับผู้รับบริการเพื่อให้เกิดการดูแลแบบองค์รวมที่สอดคล้องกับบริบทของวัฒนธรรม
D = Desire
ทำให้ต้องการเข้าไปสู่กระบวนการพัฒนาสมรรถนะทางวัฒนธรรม
เป็นขั้นที่สูงที่สุดของสมรรถนะทางวัฒนธรรม
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม
A = Awareness
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
กระบวนการรู้คิดของ บุคลากรสุขภาพที่เล็งเห็นถึงความสาคัญของ การให้คุณค่า ความเชื่อ วิถีชีวิต พฤติกรรม และวิธีการแก้ปัญหาของผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม
การตรวจสอบความอคติของตนเอง ต่อวัฒนธรรมอื่น ๆ และการสารวจเชิงลึก (in-depth exploration) ถึงเบื้องหลังวัฒนธรรมตนเอง ซึ่งเป็น กระบวนการหลักที่จะนาไปสู่ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงวัฒนธรรมของตนเอง
หากบุคลากรสุขภาพ (พยาบาล) ยังไม่เข้าใจ ลึกซึ้งในวัฒนธรรมตนเอง ก็มีโอกาสที่จะเกิดพฤติกรรมการบริการ ที่ไม่เหมาะสมต่อผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม ได้
จัดแบ่งได้ตามประโยชน์และโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์
ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแฝด
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่
ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
สังคมแอฟริกันบางสังคมให้เด็กกินดินหรือโคลน
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ
การรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เป็นสาเหตุโรคพยาธิ โรคอุจจาระร่วง
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
การให้ทารกกินนมแม่นานถึง 2 ปี
การห้ามหญิงหลังคลอดบริโภคน้ำดิบ
แนวทางการดูแลสุขภาพ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน (Folk sector of care)
หรือการดูแลแบบทางเลือก เป็นการปฏิบัติการรักษาที่มิใช่รูปแบบของวิชาชีพ ไม่มีการจัดองค์กร
ใช้อานาจเหนือธรรมชาติ
ไสยศาสตร์
ประเภทที่ไม่ใช่อานาจเหนือธรรมชาติ
สมุนไพร
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน (Popular health sector)
มีบุคคลที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยบุคคลและกลุ่มบุคคล 4 ระดับ
ครอบครัวผู้ป่วย
เครือข่ายสังคม (ได้แก่ ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูง เพื่อนบ้าน)
ผู้ป่วย
ชุมชน (เช่น ผู้นาชุมชน)
เป็นส่วนของการดูแลสุขภาพภาคประชาชนซึ่งถูกปลูกฝังถ่ายทอดกันมาตามวัฒนธรรม ความเชื่อที่เกี่ยวกับสุขภาพและความเจ็บป่วย
ระบบการดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ (Professional health sector)
เป็นส่วนของการปฏิบัติการรักษาพยาบาลทางการแพทย์ มีการจัดองค์กรที่เป็นทางการ
แนวคิด
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพที่เชื่อมโยงตั้งแต่การดูแลสุขภาพตัวเอง การดูแลสขุ ภาพแบบพื้นบ้าน ไปจนถึงการดูแลสุขภาพที่อาศัยความรู้วิทยาการหรือเทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่ ครอบคลุมการดูแบสุขภาพทั้ง 4 มิติ
การดูแบสุขภาพทั้ง 4 มิติ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ