Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
Hypertensive crisis
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดง
hypertensive encephalopathy
ปวดศรีษะ
การมองเห็นผิดปกต
สับสน
คลื่นไส้ อาเจียน
อาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
น้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
การซักประวัติ
ซักประวัติการเป็นโรคประจำตัว
โรคความดันโลหิตสูง
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา
ผลข้างเคียงของยาที่ใช
การสูบบุหรี่
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิกครอบครัว
ความดันโลหิตสูงขณะ
ตั้งครรภ์
สอบถามอาการของอวัยวะที่ถูกผลกระทบจากโรคความดัน
โลหิตสูง (target organ damage, TOD)
โรคหลอดเลือดสมอง
ปวดศรีษะ (Headache)
มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ (blurred vision)
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ (change in level of
consciousness)
หมดสติ(Coma)
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
เจ็บหน้าอก (chest pain)
เหนื่อยง่ายแน่นอกเวลาออกแรง
ไตวายเฉียบพลัน
ปริมาณปัสสาวะลดลง หรืออาจไม่มีการขับถ่ายปัสสาวะ
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
ความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา
ช่างน้ำหนัก
ส่วนสูง
ดัชนีมวลกาย
เส้นรอบเอว
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
โรคหลอดเลือดสมอง
แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก
มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ (blurred
vision)
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ (change in level of consciousness)
หมดสติ(Coma)
ตรวจจอประสาทตา
Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressure
ตรวจ retina
พบ cotton-wool spots and hemorrhages แสดงว่า มีการแตกของ retina blood vessels
และ retina nerves ถูกท าลาย
Chest pain บอกอาการของ acute coronary syndrome or aortic dissection
อาการของ oliguria or azotemia (excess urea in the blood) แสดงถึงภาวะไตถูกท าลาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
ตรวจการท างานของไตจากค่า Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR) และค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12-lead ECG)
chest Xray
ตรวจเอ๊กซเรย์คอมพิวเตอร์หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอง
การรักษา
การรักษาทันทีใน ICU และให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ควรออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็ว
มีผลข้างเคียงต่อตับและไต
น้อย
ขั้นตอนการเตรียมสะดวก รวดเร็ว
ยาที่มีในโรงพยาบาล ได้แก่กลุ่ม vasodilator, adrenergic blocker, calcium channel blocker,
angiotensin-converting enzyme inhibitor
ยาที่มีใช้ในประเทศไทย เช่น sodium nitroprusside,
nicardipine, nitroglycerin, labetalol ยา sodium nitroprusside
ยาชนิดออกฤทธิ์สั้นไม่แนะน าให้ใช้ยา Nifedipine ทั้งทางปากและบีบใส่ใต้ลิ้น เพราะความดัน
โลหิตอาจลดต่ าลงมากเกินไปจนไม่สามารถควบคุมได
การพยาบาล
ติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ ได้แก่
neurologic, cardiac, and renal systems
ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ (Risk for ineffective cerebral tissue perfusion
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายไม่เพียงพอ (Risk for ineffective peripheral tissue perfusion)
วิตกกังวล (Anxiety related to threat to biologic, psychologic, or social integrity)
พร่องความรู้ (Deficient knowledge related to lack of previous exposure to information)
Cardiac arrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
Paroxysmal AF
Persistent AF
Permanent AF
Recurrent AF
Lone AF
สาเหตุ
โรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจ
อักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery), hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
คล าชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกต
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation) ในผู้ป่วยที่เป็น AF และไม่
สามารถควบคุมด้วยยาได
Ventricular tachycardia (VT
ประเภทของ VT
Nonsustained VT
Sustained VT
Monomorphic VT
Polymorphic VT
สาเหตุ
Myocardial infarction
Rheumatic heart disease
ถูกไฟฟ้าดูด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
พิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis toxicity)
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการและอาการแสดง
ความดันโลหิตต่ำ
ผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น
หน้ามืด
เจ็บหน้าอก
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
น าเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันทีและเปิดหลอดเลือดด าเพื่อให้ยาและสารน้ำ
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จ ำนวนปัสสาวะ เพื่อประเมิน
ภาวะเลือดไปเลี้ยงสมอง และอวัยวะสำคัญลดลง
ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคล ำชีพจรได้ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียม
ผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
ในผู้ป่วยที่เกิด VT และคลำชีพจรไม่ได้(Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator เพื่อให้แพทย์ท ำ
การช็อกไฟฟ้าหัวใจ
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
สาเหตุที่ท าให้เกิด VF และ Pulseless VT
. Hypovolemia
Hypoxia
Hypokalemia
Hydrogen ion (acidosis)
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
หมดสติ
ไม่มีชีพจร
รูม่านตาขยาย
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมและทำ CPR ทันทีเนื่องจากการรักษา VF และ
Pulseless VT สิ่งที่ส าคัญคือ การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันทีและการกดหน้าอก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความผิดปกติของ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia โดยให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยว่ามียาชนิดใดที่มีผลต่อ อัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะอวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลี้ยง (Tissue perfusion) ลดลง
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยเฉพาะ ST segment
Acute Heart Failure (AHF)
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
1) New onset: หัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นครั้งแรก โดยอาจเป็นแบบเฉียบพลัน (Acute onset) หรือเกิดขึ้นช้า
(Slow onset)
2) Transient: หัวใจล้มเหลวที่มีอาการชั่วขณะ เช่น เกิดขณะมีภาวะหัวใจขาดเลือด
3) Chronic: หัวใจล้มเหลวที่มีอาการเรื้อรัง โดยอาจมีอาการคงที่ (Stable) หรือ อาการมากขึ้น (Worsening
หรือ Decompensation)
แบ่งตามการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
1) Systolic heart failure หรือ Heart failure with reduced EF (HFREF)
2) Diastolic heart failure หรือ Heart failure with preserved EF (HFPEF)
แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
1) Left sided-heart failure
Orthopnea
Paroxysmal nocturnal dyspnea (PND)
ซึ่งเกิดจากความ ดันในหัวใจห้องบนซ้ายหรือห้องล่างซ้ายสูงขึ้น
2) Right sided-heart failure
อาการบวม
ตับโต
แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
1) High-output heart failure
2) Low-output heart failure
สาเหตุของภาวะหัวใจล้มเหลว
ความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ (Valvular heart disease)
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ (Myocardial disease)
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease)
อาการและอาการแสดงของหัวใจล้มเหลว
อาการเหนื่อย (Dyspnea)
อาการบวมในบริเวณที่เป็นระยางส่วนล่างของร่างกาย (Dependent part)
อ่อนเพลีย (Fatigue)
แน่นท้อง ท้องอืด
อาการแสดงที่ตรวจพบบ่อย
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia) หายใจเร็ว (Tachypnea)
Jugular vein distention
หัวใจโต โดยตรวจพบว่ามีApex beat หรือ Point of Maximum Impulse (PMI)
เสียงหัวใจผิดปกติโดยอาจตรวจพบเสียง S3 หรือ S4 gallop
เสียงปอดผิดปกติ (Lung crepitation)
ตับโต (Hepatomegaly) หรือน้ำ ในช่องท้อง (Ascites)
บวมกดบุ๋ม (Pitting edema)
การวินิจฉัย
Chest X-ray, CXR
electrocardiography
การตรวจเลือด
Echocardiography
บทบาทพยาบาล
1) ผู้ป่วยอาการหัวใจล้มเหลวดีขึ้น (Improve symptoms, especially congestion and lowoutput symptoms)
2) ผู้ป่วยไม่มีภาวะน้ำเกินหรือขาดน้ำ (Optimize volume status)
3) ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นที่เป็นสาเหตุ (Identify etiology)
4) ผู้ป่วยได้รับการค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้อาการกำเริบ (identify precipitating factors)
การพยาบาล
ช่วยเหลือทำกิจกรรมให้ผู้ป่วยในระยะที่
ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อย
จัดท่านั่งศีรษะสูง 30-90 องศา (Fowler’s position) หรือนั่งฟุบบนโต๊ะข้างเตียง
ประเมิน V/S ทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและมีการติดตามประเมินผลของยา
ชั่งนํ้าหนักผู้ป่วยทุกวันในเวลาเดิม
จํากัดนํ้าในแต่ละวันตามแนวทางการรักษาโดยในรายที่ไม่รุนแรงให้ จํากัดประมาณ 800-1,000 ซีซี/วัน
ประเมินความรู้สึกและปัญหาต่างๆของผู้ป่วยพร้อมทั้งซักถามความต้องการของผู้ป่วยโดยพยาบาลควรให้เวลาและตั้งใจรับฟังปัญหาอย่างต่อเนื่องเพื่อทําให้ทราบและเข้าใจปัญหาที่แท้จริงของผู้ป่วย
ภาวะช้อก (Shock)
การแบ่งประเภทของช็อก (Classification of shock)
Low cardiac output shock
2) Cardiogenic shock
1) Hypovolemic shock
3) Obstructive shock
High cardiac output shock
1) Septic shock อออ
2) Anaphylactic shock
3) Endocrinologic shock
4) Neurogenic shock
5) Drug and toxin
Diagnosis of Shock
ภาวะที่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เพียงพอ (Poor tissue perfusion) หากรักษา
ไม่ทันท่วงทีจะส่งผลให้อวัยวะต่างๆ ล้มเหลว (Organ failure) ตามมา
Shock management
การรักษาจำเพาะ (Specific treatment) สำหรับภาวะช็อกแต่ละประเภท
การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment)
Supportive treatment
Airway: กรณีที่มี Upper airway obstruction ควรทำการเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
Breathing: ในผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะช็อกควรให้ออกซิเจนร่วมด้วย เพื่อเพิ่ม Oxygen delivery โดยอาจใช้
Oxygen cannula, mask, mask with bag
Circulation: พิจารณาการให้สารน้ำหรือ Vasopressors / inotropes ตามสาเหตุของช็อกแต่ละประเภท
Fluid therapy
การให้สารน้ำในภาวะช็อกมีประโยชน์ในช็อกต่อไปนี้
Hypovolemic shock
Right side cardiogenic shock
Obstructive shock
Distributive shock (High cardiac output shock)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ผู้ป่วยอยู่ในภาวะปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีต่ำลงเนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะช็อค
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Levophed อาจเกิดภาวะยาดังเฉพาะที่หรือรั่วซึมออกนอก
หลอดเลือดเกิดเนื้อตายได้
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจลดลง
ผู้ป่วยและญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
มีไข้จากมีการติดเชื้อในกระแสเลือด (Septic shock)