Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
DRUG - Coggle Diagram
DRUG
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาใช้ภายนอก
ยาใช้เฉพาะที่
ยาควบคุมพิเศษ
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาอันตราย
ยาบรรจุเสร็จ
ยาแผนโบราณ
ยาสมันไพร
ยาแผนปัจจุบัน
แบ่งตามเภสัชตำรับ
กลไกการออกฤทธิ์
แหล่งที่มาของยา
ประโยชน์ในการรักษา
ตำแหน่งการออกฤทธิ์
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
จากสัตว์ สกัดจากอวัยวะบางส่วนของสัตว์
จากแร่ธาตุ เช่น ผงน้ำตาลเกลือแร่
จากพืช เป็นยาที่ได้จากส่วนต่างๆของพืชโดยตรงนำมาปรุงเป็นยาโดยไม่เปลี่ยนแปลงรูปเรียกว่า ยาสมุนไพร
จากการสังเคราะห์
อาศัยปฏิกิริยาทางเคมี เช่น เกลือของเหล็กใช้บำรุงโลหิต
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
Solid form
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว ต้องเคี้ยวก่อนถึงออกฤทธิ์ได้ดี
ยาอม ใช้อมแก้เจ็บคอ
ยาอมใต้ลิ้น ดูดซึมได้ดีในเยื่อบุช่องปาก
ยาผงเดือดฟู่ เป็นยาละลายน้ำได้ง่าย
ยาเม็ด เป็นยาผงอัดแห้ง มีทั้งแบบเคลือบและไม่ได้เคลือบ
ยาผง ผสมเป็นผงเพื่อเก็บได้นานและรสดี
ยาแคปซูล มีเจลาตินเป็นปลอกหุ้ม เพื่อกลบรสขม
ยาเหน็บ เตรียมขึ้นเพื่อสอดใส่ในช่องเปิด จะออกฤทธิ์บริเวณที่เหน็บ
ประเภทของเหลว
ยาสารน้ำละลาย
ตัวทำละลายเป็นน้ำ
น้ำปรุง ยาสำคัญคือ น้ำมันหอมระเหย
ยาน้ำใส เช่น แอลกอฮอล์
ยาน้ำเชื่อม สารละลายเข้มข้นของน้ำตาล เหมาะกับเด็ก
ยาจิบ หนืดเล็กน้อย ใช้ระงับการไอ ขับเสมหะ
ยากลั้วคอ สารละลายใสและเข้มข้นมีฤทธิ์ต้านการฆ่าเชื้อ
ยาอมบ้วนปาก ดับกลิ่นปาก กระพุ้งแก้ม
ยาหหยอดหู ส่วนมากเป็นยาน้ำใส
ยาสวนล้าง สารละลายปราศจากเชื้อใช้ล้างแผล
ตัวละลายไม่ใช่น้ำ
Spirits สารละลายใสของสารระหอมเหยง่าย มีแอลค่อนข้างสูง
Collodians ข้น เหนียว มักใช้ทาบาดแผล ฤทธิ์ลอกผิวหนัง
Glycerines ข้นเหนียว มักใช้เป็นยาหยอดหู อมบ้วนปาก
ยาถูนวด ใช้เฉพาะภายนอก สารละลายใสหรือข้นเหลว
Elixir ตัวยาสำคัญคือแอลกอฮอล์ มีกลิ่นหอมและรสหวาน
ยาป้าย มีฤทธิ์ต้านการติดเชื้อและสมานแผล
ยาน้ำกระจายตัว
ยาน้ำแขวนตะกอน เวลาใช้ต้องเขย่าขวด
เจล ตัวยาขนาดเล็กแต่ไม่ละลายน้ำ
โลชั่น ยาน้ำแขวนตะกอนชนิดใช้ภายนอก
แมกมาและมิลค์ คล้ายเจล สารยาขนาดใหญ่จึงหนืด
มิกซ์เจอร์ เป็นยาน้ำผสม
อิมัลชั่น ยาที่ส่วนผสมของน้ำมัน ขุ่นเหนียว
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง ลักษณะเป็นน้ำมัน เตรียมทาผิวหนัง บรรเทาอาการต่างๆ
ครีม ยาน้ำแขวนตะกอนที่มีความเข้มข้นนมาก ป้องกันการติดเชื้อ
ประเภทอื่นๆ
ยาทาผิวหนัง ยาสำหรับใช้ทาเฉพาะที่
ยาพ่นฝอย หวังผลเฉพาะที่ ป้องกันฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ต่อร่างกายส่วนอื่น
ยาฉีด ให้โดยไม่ผ่านระบบทางเดินอาหาร
ยาดม ยากลิ่นหอมระเหย สามารถสูดดมได้ง่าย บรรเทา
เภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย
อัตราและปริมาณ ที่ถูกนำเข้ากระแสเลือด
Bioavailability สัดส่วนของยาที่ไม่เปลี่ยนแปลงที่ถูกนำเข้าสู่เลือด
ปัจจัยเกี่ยวกับตัวยา
วิธีการผลิตยา และรูปแบบยา
ขนาดยาที่ให้ (dosage)
คุณสมบัติในการละลายในไขมัน
ขนาดของโมเลกุลยา
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
อาจจะเกิด first past effect
การให้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น (ยาอมใต้ลิ้น)
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ (ยาแบบสูดดม)
การให้ยาโดยฉีดใต้ผิวหนัง กล้ามเนื้อ หลอดเลือดดำ
พยาธิสภาพของร่างกาย
สภาวะทางสรีรวิทยาและอารมณ์ของผู้รับยา
การได้รับอาหารหรือยาอื่นร่วมด้วย
การกระจายตัวของยา
การกระจายตัวในไขมัน
การจับตัวกับplasmaในprotein
ขึ้นอยู่กับปรืมาณเลือดที่มาเลี้ยง
การแปรสภาพยาหรือเปลี่ยนแปลงยา
กระตุ้นการออกฤทธิ์ของยา
สิ้นสุดการออกฤทธิ์ของยา
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนแปลงยา
อาจอยู่ในไซโทพลาสซึม
cytochrome P450
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
อายุ
ปฏิกิริยาระหว่างการเกิด metabolism
มีคุณสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์
มีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์
ความเจ็บป่วย และการทำงานของตับ
คำสำคัญทางเภสัชจลนศาสตร์
ค่าครึ่งชีวิต
Loading dose
onset
Duration of action
เภสัชพลศาสตร์
Receptor
มีคุณสมบัติที่จะจำและจับกับสารที่มีโครงสร้างจำเพาะเจาะจง
Agonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วสามารถทำให้เกิดฤทธิ์ทางเภสัช
Antagonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วสามารถลดหรือบดบังฤทธิ์ agonist
Potial agonist
ยาที่จับกับ receptor แล้วออกฤทธิ์เพียงบางส่วน
คำศัพท์ทางเภสัชพลศาสตร์
Affinity ความสามารของยาในการจับreceptor
Efficacy ความสามารถของยาที่ทำให้เกิดฤทธิ์สูงสุด
Potency ความแรงของฤทธิ์ยา
ระดับความปลอดภัยของยา (TI)
TI = LD50/ED50
ยาที่มีค่า TI ต่ำจะมีความปลอดภัยต่ำ
ยาที่มีค่า TI สูงจะมีความปลอดภัยสูง
การแปรผันของการสนองต่อยา
Hyporeactivity การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติ
Hyperactivity การตอบสนองต่อยาที่มากกว่าปกติ
Idiosyncrasy การตอบสนองที่แตกต่างจากปกติ
Tachyphylaxis การดื้อยาที่เกิดขึ้นได้เร็ว
Placebo effect ฤทธิ์หลอก
Tolerance ดื้อหรือทนฤทธิ์ของยา
Hypersensitivity หรือ Allergic reaction การแพ้ยา