Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม (Culture)
เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อช่วยให้สามารถดำรงชีวิตต่อไปได้
ประเทศไทย นำคำว่าวัฒนธรรมมาใช้
ครั้งแรก
เมื่อ
สมัยรัฐบาลจอมพลป.พิบูลสงคราม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ.2555 ให้ความหมายของวัฒนธรรมว่า สิ่งที่แสดงถึงความเจริญงอกงามของสังคมทั้งด้านจิตใจและวัตถุ
สำนักคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ให้ความหมายคำว่า วัฒนธรรม ว่า ความเจริญงอกงามที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับสังคม มนุษย์กับธรรมชาติ 3ด้าน
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านวัตถุ
ดร.โกวิท ประวาลพฤกษ์
กล่าวว่า วิถีชีวิต การปฏิบัติและสิ่งของที่มาจากรุ่นสู่รุ่น เพื่อแสดงความเป็นเอกลักษณ์
ศ.ดร.สาโรจ บัวศรี
กล่าวว่า ความดี ความงามและความเจริญในชีวิตในรูปแบบรูปธรรมต่างๆ ได้ตกทอดมาถึงคนรุ่นหลังในปัจจุบัน หรือปรับปรุงขึ้นในสมัยของเรา
ลักษณะพื้นฐานที่สำคัญของวัฒนธรรม 6 ประการ เมื่อเทียบกับทั่วโลก
1.วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (shared ideas)
ค่านิยมทางสังคมเป็นตัวกำหนดมาตรฐาน
2.วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (Culture is learned)
เรียนรู้ทีละเล็กน้อยสะสมในสังคมกลายเป็น มรดกสังคม
3.วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (Symbol)
4.วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
มีการวางกฎเกณฑ์แบบแผนในการดำเนินชีวิต ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
5.เป็นกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
6.วัฒนธรรมเป็นสิ่งไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
วัฒนธรรมทางสังคมวิทยา
1.วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture)
เป็นสิ่งของ วัตถุ เกิดจากความคิดของมนุษย์
2.วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture)
แสดงออกได้โดยทัศนะ ประเพณี ความคิด ภาษา ศีลธรรม
องค์ประกอบของวัฒนธรรม 4 ประการ
1.องค์วัตถุ (Material) วัฒนธรรมในด้านวัตถุที่มีรูปร่างสามารถจับต้องได้
2.องค์การหรือสมาคม (Organization) การจัดระเบียบเป็นองค์การหรือสมาคม โครงสร้างสามรถมองเห็นได้ มีระเบียบกฏเกณฑ์
3.องค์พิธีหรือพิธีการ(Usage/Ceremony)
เป็นในส่วนที่เป็นพิธีการต่างๆที่มนุษย์สร้างขึ้น ตั้งแต่เริ่มต้นชีวิต
4.องค์มติหรือมโนทัศน์(Concepts) ในด้านความคิด ความเชื่อ อุดมการณ์ต่างๆได้มาจากคำสอนทางศาสนา
ความสำคัญของวัฒนธรรม
1.เป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม เป็นเครื่องกำหนดชีวิตความเป็นอยู่สังคม
2.เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยม เจตคติ ความเชื่อ
3.ทำให้มีความรู้สึกพวกเดียวกัน ให้ความร่วมมือกัน
4.เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
5.ทำให้มีพฤติกรรมแบบเดียวกัน
6.เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
7.ทำให้มนุษย์มีสภาวะแตกต่างจากสัตว์
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
ความเชื่อ หมายถึง เป็นการยอบรับปรากฎการที่เรียนรู่ร่วมกันในสังคมถ่ายทอดกันมาเป็นผลึก อาจมีเหตุผลหรือไม่มีเปลี่ยนแปลงได้ตามวิวัฒนาการและพัฒนาการของสังคม
ประเภทของความเชื่อ
1.ปรากฏอยู่จริง
2.เกิดจากประสบการณ์ตรง เกิดจากการแลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
3.ความเชื่อแบบประเพณี เกี่ยวกับการบูชาพระธาตุและผีวีรบุรุษ
4.ความเชื่อแบบเป็นทางการ เช่น คำสอนทางพระพุทธศาสนา
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
1.ด้านจิตวิทยา การรับรู้ เรียนรู้
2.ด้านสังคมและวัฒนธรรม การขัดเกลาทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
3.ด้านบุคคล ศาสนา อายุ เพศ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
1.ความเชื่อแบบอำนาจเหลือธรรมชาติและวิธีดูแลสุขภาพ
2.ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
3.ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตก เช่นการเจ็บป่วยจากพันธุกรรม เป็นการหาสาเหตุของความเจ็บป่วย ได้แก่แพทย์ บุคลากนทางการแพทย์
4.ความเชื่อและการดูแลในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะตั้งครรภ์
ระยะคลอดบุตร
ระยะหลังคลอด
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
5.ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
แบบพื้นบ้าน
ภาวะหมดประจำเดือนในเพศหญิง
การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในเพศชาย
ความแปรปรวนของธาตุลม
แบบแพทย์แผนตะวันตก
การดูแลด้านการพักผ่อน
การดูแลอุบัติเหตุ
การดูแลด้านการออกกำลังกาย
6.ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
แบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเรื่องวิญญาณ
กฎแห่งกรรม
สร้างความดีในชาตินี้เพื่อการตายอย่างสงบ
แบบแพทย์ตะวันตก
ดูจากการหยุดทำงานของหัวใจและการทำงานของแกนสมอง
มุ่งเน้นให้ระบบและอัวยวะต่างๆสามารถทำงานต่อไปได้และยืดชีวิตผู้ป่วยให้ยาวนานมากที่สุด
ค่านิยมทางสังคม
เป็นวัฒนธรรมที่กำหนดพฤติกรรมของสมาชิกสังคมนั้นโดยตรง
ปัจจัยที่ทำให้เกิดค่านิยมทางสังคม
ครอบครัว เป็นแห่งแรกที่สร้างค่านิยม
โรงเรียน เป็นการสร้างค่านิยมอันถูกต้อง สอนให้เกิดความคิด ความเชื่อ เพื่อไปสู่พฤติกรรมที่ดี
สถาบันศาสนา เป็นส่วนช่วยในการปลูกฝังค่านิยมที่ดี
สื่อมวลชน
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป้นโรค
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
การเข้าวัด ถือศีล
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
การกินอาหารปรุงสุก
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพสุขภาพในสภาวะเจ็บ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค การดูแลแบบพื้นบ้าน แบบวิชาชีพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟุสมรรถภาพ เช่นการออกกำลังเสริมสร้างสมรรถภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ แบ่งตามประโยชน์และโทษ
ขนมธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
ขนมธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์ เช่น ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแฝด
ขนมธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ เช่น สังคมแอฟริกันบางสังคมให้เด็กกินดินหรือโคลน
ขนมธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ เช่น การรัปประทานอาหารสุกๆดิบๆ
แนวทางการดูแลสุขภาพที่เกิดขึ้นเป็นวัฒนธรรมของการดูแลสุขภาพ
ระบบการดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ (perfessional health sector) เป็นส่วนของการปฏิบัติการรักษาพยาบาลทางการแพทย์ มีการจัดองค์กรที่เป็นทางการ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน (Folk sector of care) การดูแลแบบทางเลือก ใช้อำนาจเหนือธรรมชาติ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน (Popular health sector)