Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
shutterstock_706796878 ความรู้พื้นฐานและหลักการทั่วไปทางเภสัชวิทยา…
ความรู้พื้นฐานและหลักการทั่วไปทางเภสัชวิทยา
ความรู้พื้นฐาน
-
-
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
เภสัชวิทยา (Pharmacology) หมายถึงวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของยาและฤทธิ์หรือผลต่างๆของยาที่มีต่อร่างกายรวมทั้งผลที่ร่างกายกระทำต่อยาด้วย
เภสัชกรรม (Pharmacy) หมายถึงวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมยาผสมยาและจ่ายยาเพื่อรักษา
ความสำคัญของเภสัชวิทยาต่อวิชาชีพพยาบาล
พยาบาลต้องอยู่ภายใต้ข้อบังคับที่กฎหมายกำหนดไว้ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการให้ยาพยาบาลวิชาชีพจะสามารถให้ยาแก่ผู้ป่วยเมื่อแพทย์มีคำสั่งการรักษาเป็นลายลักษณ์อักษร
นักศึกษาพยาบาลจะให้ยาแก่ผู้ป่วยได้ก็ต่อเมื่ออยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของพยาบาลวิชาชีพซึ่งเป็นอาจารย์พยาบาลหรือพยาบาลประจำการตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์เท่านั้น
การให้ยาเป็นหน้าที่สำคัญของพยาบาลนอกเหนือจากความรู้เรื่องยาแล้วพยาบาลต้องมีคุณธรรมโดยการตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุดเพื่อให้เกิดผลที่พึงประสงค์แก่ผู้ป่วยเพราะถ้าหากเกิดจากความประมาทเลินเล่อของพยาบาลทำให้ผู้ป่วยได้รับผลที่ไม่พึงประสงค์จากยาแม้เพียงระดับเล็กน้อยก็ตามพยาบาลจะมีความผิดจากการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลดังนั้นนอกเหนือความรู้ทางด้านการพยาบาลแล้วความรู้พื้นฐานทางด้านเภสัชวิทยาจึงนับว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับวิชาชีพพยาบาล
ประเภทของยาแบ่ง
-
- ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาคเช่นยาออกฤทธิ์ต่อระบบการไหลเวียนเลือดระบบประสาทระบบทางเดินปัสสาวะ
- ประโยชน์ในการรักษาเป็นวิธีแบ่งประเภทของยาที่นิยมใช้กันมากที่สุดและอาจใช้ร่วมกับการแบ่งยาตามกลไกการออกฤทธิ์ทางกายวิภาคด้วยเช่นยาแก้ปวดลดไข้ยารักษามะเร็งยาลดกรดในกระเพาะอาหารยาลดกรดในกระเพาะอาหารยานอนหลับ
- กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาเช่นยาระบายหรือยาถ่ายที่ทำให้ลำไส้บีบรัดตัวเพิ่มขึ้นยากระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
- แหล่งที่มาของยาหรือคุณสมบัติทางเคมีและเภสัชวิทยาของยาเช่นไอโอดีนจากแร่ธาตุยากลุ่มกลัยโคไซด์ที่ได้จากพืช
แหล่งกำเนิดยา
จากพืช
-
สกัดเอาสารที่มีอยู่ในพืชออกมาทำให้บริสุทธิ์ซึ่งสามารถกำหนดขนาดในการรักษาได้เรียกว่าสารสกัดบริสุทธิ์ (Purified drug)
-
-
-
-
2.จากการสังเคราะห์
-
อะลูมิเนียมไฮดอกไซด์
-
-
-
หลักการทั่วไปทางเภสัชวิทยา
-
-
3.ระดับความปลอดภัยของยา
การหาระดับความปลอดภัยของยามักจะทำการทดลองผ่านสัตว์ทดลองเช่นหนูแรทหรือหนูเมาส์ระดับความปลอดภัยของยาเป็นสัดส่วนของขนาดยาที่ทำให้หนูตาย 50%
-
-
-