Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นทางเภสัชวิทยา - Coggle Diagram
ความรู้พื้นทางเภสัชวิทยา
ความรู้พื้นฐานทางเภสัช
เภสัชวิทยาและเภสัชกรรม
เภสัชวิทยา Pharmacology ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติองยาและฤทธิ์ของยาที่มีต่อร่างกาย
เภสัชกรรม Phamacy ศึกาาเกี่ยวกับการเตรียมยา ผสมยาและการจ่ายยาเพื่อรักษา
ความสำคัญขอเภสัชวิทยาต่อวิชาชีพพยาบาล
หน้าที่สำคัญของพยาบานอกเหนือจากความรู้เรื่องยาแล้ว พยาบาลต้องมีคุณธรรมโดยการตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุด
พยาบาลต้องอยู่ภายใต้ข้อบังคับที่กฏหมายกำหนดไว้ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการให้ยา
พยาบาลวิชาชีพจะสามารถให้ยาแก่ผู้ป่วยเมื้อแพทย์มีคำสั่งการรักษาเป็นลายลักษณ์อักษรเท่านั้น
ประเภทของยา
ยารักษาโรคปัจจุบัน
ยาแผนปัจจุบัน
ยาที่ใช้สำหรับในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ยาแผนโบราณ
ยาที่ใช้สำหรับการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือโรคสัตว์ ยาจะได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ
ยาอันตราย
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่มีการประกาศว่าเป็นยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่มีการประกาศเป็นยาควบคุมพิเศษ
ยาใช้ภายนอก
ยาที่มุ่งใช้สำหรับภายนอกไม่รวมถึงยาใช้เฉพาะที่
ยาใช้เฉพาะที่
ยาที่ใช้เฉพาะที่กับผิวหนัง หู ตา จมูก ปาก ช่องคลอด ท่อปัสสาวะ และ ทวารหนัก
ยาสามัญประจำบ้าน
เป็นยาที่ประกาศให้มีประจำบ้านได้
ยาบรรจุเสร็จ
ยาที่ได้ผลิตขึ้นเสร็จในรูปต่างๆ ใส่ไว้ในบรรจุที่ปิดหรือผลึกไว้ มีฉลากครบถ้วน
ยาสมุนไพร
ยาที่ได้จากพฤกษชาติ สัตว์ หรือแร่ ไม่ได้มีการแปรสภาพ
แบ่งตามเภสัชตำรับ
ตำแหน่งการออกฤทธิ์ทางกายวิภาค
ประโยชน์ในการรักษา ตามกลไกการออกฤทธิ์
กลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
แหล่งที่มาของยา
แหล่งกำเนิดยา
จากธรรมชาติ
พืช
ราก
ใบ
ลำต้น
ผล
เมล็ด
เปลือก
ไม่มีการแปรรูป เป็นสารสกัดบริสุทธิ์
สัตว์
สกัดจากอวัยวะางส่วนของสัตว์
ตับ
ดีหมู
ตับอ่อน
ดีวัว
แร่ธาตุ
ไอโอดีน
ทองแดง
น้ำมันเกลือแร่
จากการสังเคราะห์
ยาปัจจุบันจะมาจาการสังเคราะห์
อาศัยปฎิกิริยาทางเคมีในห้องปฏิบัติการ
การเรียกชื่อ
เรียกชื่อตามสูตรเคมี Chemical name
เรียกตามลักษณะส่วประกอบทางเคมีของยา
เรียกชื่อสามัญทางยาหรือตัวยา Generic name
กลุ่มยาจะมีการออกฤทธิ์เหมือนกัน
เรียกชื่อตามการค้า Trade name
ชื่อบริษัทหรือตัวแทนจำหน่าย
เภสัชภัณฑ์หรือยาเตรียม
รูปแบบที่เป็นแข็ง Solid from
ยาแคปซูล Capsule
ยาที่มีเลาตินหุ้มเพื่อกลบรสขมของยา
ยาเม็ด Tablet
ยาเม็ดเคลือบ
เพื่อให้อกฤทธิ์ที่ลำไส้ ป้องกันการระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร
ยาเม็ดไม่เคลือบ
Aspirin
Paracetamol
ยาอมใต้ลิ้น Sulingual
ยาจะถูกดูดซึมได้ดีในเยื่อห้มในช่องปาก
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยว
ต้องเคี้ยวก่อนยาจึงออกฤทธิ์ได้ดี
ยาอม Lozenge
ใช้อมยาแก้เจ็บคอ จะมียาฆ่าเชื้อและยาทำลายลายเชื้อเป็นประกอบ
ยาผง Pulveres
จะเก็บไว้ได้นานและมีกลิ่นรสดี
ยาผงเดือดฟู่ Effervescent powder
ยาที่สามารถละลายน้ำได้
ยาเหน็บ Suppositories
ยาที่เตรียมใช้สอดเข้าไปในช่องเปิด
ประเภทของเหลว
ยาน้ำสารละลาย
ยาน้ำสารละลายที่ตัวละลายน้ำ
น้ำปรุง
ยาน้ำใส
ยาน้ำเชื่อม
ยาจิบ
ยากลั้วคอ
ยาอมบ้วนปาก
ยาหยอดจมูก
ยาหยอดหู
ยาสวนล้าง
ยาน้ำสวนทวารหนัก
ยาน้ำสารละลายที่ตัวทำละลายไม่ใช้น้ำ
ยาอิลิกเซอร์
ยาสปริริต
ยาโคโลเดียน
ยากลีเซอริน
ยาถูนวด
ยาป้าย
ยาน้ำกระจายตัว
เจล
โลชั่น
แมกมาและมิลค์
มิกซ์เจอร์
อิมัลชั่น
รูปแบบประเภทกึ่งแข็ง
ขี้ผึ้ง
ลักษณะเป็นน้ำมัน
ยาเตรียมที่ใช้ทาผิวหนังเละเยื่อเมือก
ครีม
ยาน้ำแขวนตะกอนที่มีความข้นมาก
ใช้สำหรับป้องกันการติดเชื้อ
ประเภทอื่นๆ
ยาฉีด
ตัวยาจะมีความบริสุทธิ์
จะไม่มีการผ่านระบบทางเดินอาหาร
ยาทาผิวหนัง
ยาใช้สำหรับทาเฉพาะที่
ยาพ่นฝอย
ป้องกันฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ต่อร่างกาย
มักใช้ประกอบกับเครื่องพ่น
ยาดม
ยาที่มีกลิ่นหอมระเหย สามารถดูดดมได้ง่าย
หลักทั่วไปทงเภสัชวิทยา
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมยาเข้าร่างกาย Drug absorption
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยา
ปัจจัยเกี่ยวกับยา
ขนาดโมเลกุลของยา
วิธีการผลิตของยา และรูปแบบยา
ขนาดยาที่ให้
คุณสมบัติในการละลายในไขมัน
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้ป่วย
วิธีการบริหารยา
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
ph ของ medium มีผลต่อการดูดซึมยา
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อน
จะดูซึมได้ดีที่เป็นกรด ph ต่ำ
ยาที่มีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อน
จะดูดซึมได้ดีที่เป็นกรด ph สูง
ยาที่มคุณสมบัติ hepatic first past effect พิจารณาให้ยาทางอื่น
การใช้ยาดูดซึมผ่านหลอดเลือดฝอยบริเวณใต้ลิ้น
อมยาใต้ลิ้น
ยาอมในกระพุ้งแก้ม
การให้ยาดูดซึมผ่านทางระบบทางเดินหายใจ
ยาแบบสูดดม
การให้ยาโดยฉีด
ใต้ผิวหนัง
กล้ามเนื้อ
หลอดเลือดดำ
การกระจายตัวของยา Drugs distributio
ประมาณการไหลเวียนเลือดไปยังอวัยวะนั้น
คุณสมบัติทงเคมีและฟิสิกส์ของยาแต่ละชนิด
การจับตัวของยากับโปรตีนในพลาสม่า
ความสามารถใการผ่านเข้าสมองและรก
การสะสมของยาที่ส่วนอื่น
การเปลี่ยนแปลงสภาพยาหรือการเปลี่ยนแปลงยา Drug metabolism
เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงยา
เอนไซม์อาจอยู่ที่ไซโตพลาสซึมของอวัยวะต่างๆ
ในร่างกายมี เอนไซม์ หลายชนิดที่เกี่ยวข้องกับการแปรสภาพยา
ปัจจัยที่มีผลต่อ drug metabolism
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
อายุ
ปฎิกิริยาระหว่างยาในระหว่างการเกิด metabolism
ยาบางชนิดมีคุรสมบัติเหนี่ยวนำเอนไซม์
ในขณะที่ยาางชนิดมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม์
ความเจ็บป่วยและความสามารถในการทพงานของตับ
การออกฤทธิ์ของยาทางเภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์
การจับของยา recetor
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาที่ใช้ารตอบสนองที่เกิดขึ้นในร่างกาย
กลไกออกฤทธิ์ของยา
ออกฤทธิ์โดยไม่จับ recetor
Chemical action
Physical action
ออกฤทธิ์โดยจับ recetor
recetor
agonist
antagonist
partial aonist
ระดับความปลอดภัยของยา Therapeutic index
ยามักจะทำการทดลองโดยผ่านสัตว์ก่อน
ระดับความปลอดภัยเป็นสัดส่วนของขนาดยาที่ทำให้หนูตาย 50% ต่อขนาดยาที่ได้ผลในการรักษา 50%
การแปรผันของการตอบสนองต่อยา
Idiosyncrasy การตอบสนองที่แตต่างจากปกติไม่พบเกิดคนส่วนใหญ่
Hyporeactivity การตอบสนองต่อยาที่น้อยกว่าปกติ
Hyperactivity การตอบสนองต่อยาที่มากกว่าปกติ
Hypersensitivity การแพ้ยาที่ร่างกายมี Antibody
Tolerphylaxis การดื้อยาหรือทนต่อฤทธิ์ยา
Tachyphylaxis การดื้อยา
placebo effect ฤทธิ์หลอก